STEP 1 The organization defines which supplies are "at most risk items" by using criteria

การทำหนดเกณฑ์สำหรับตัดสินว่ายา เครื่องมือ และอุปกรณ์รายการใดที่มีความเสี่ยงสูงสุด

STEP 2 The organization outlines the steps in the supply chain

จัดทำแผนผังของห่วงโซ่อุปทานตั้งแต่การผลิตจนถึงสถานพยาบาล

STEP 3 Leaders identifies risks points

กำหนดจุดที่มีเสี่ยงในแต่ละกระขวนการของห่วงโซ่อุปทาน (risk points) กระบวนการตรวจสอบ หรือหลักฐานที่ต้องใช้ในการตรวจสอบความเสี่ยง

STEP 4 Hospital leadership makes resource decisions based on their understanding of the risk points in the supply chains by use information such as FDA Medication and Device Recall

ข้อมูลที่ใช้ประกอบการตัดสินใจว่าจุดใดมีความเสี่ยงสูงสุดในห่วงโซ่อุปทาน (most risk points)

STEP 5 The hospital has a process for performing retrospective tracing of supplies found to be unstable, contaminated, defective, or counterfeit.

แหล่งข้อมูลสำหรับการตรวจสอบกลับตามประเด็นความเสี่ยง (risk points)