ตารางราคาไม้ไผ่

AsiaBam-Boo.com(asia.thailand) ขายไม้ไผ่ปลีก- ส่ง

โทร & id-Line: 0817429045

หากมีข้อสงสัย สามารถติดต่อสอบถาม ได้ตลอดเวลา
Phone : 0817429045 , 055479924Line iD : 0817429045E mail : Nakhonthai.asia.thailand@gmail.comwebsite: www.AsiaBAM-BOO.com


The Bamboo

CATEGORIESHomeAbout USProductContact USBAMBOOaday OnLineShopping ONLINEขายไม้ไผ่กันมอด แช่น้ำยากันมอดรักษาเนื้อไม้ขายไม้ไผ่ปลีก- ส่งโทร & id-Line: 0817429045 __________________________Search My : #AsiaBAM-BOO.Com #เฮียดื้อไม้ไผ่ #เฮียดื้อขายไม้ไผ่ #เฮียดื้อ #บ้านแม้นสวัสดิ์ #profile #@byOrrapan #byOrrapan #ผมดื้อ #ชวนอ่าน #ชวนติดตาม #ไม้ไผ่ #วัสดุไม้ไผ่ #ไม้ไผ่อบแห้ง #ไม้ไผ่แช่น้ำยากันมอก #ไม้ไผ่ตกแต่ง AsiaBAM-BOO.Comดื้อ ขายส่ง ไม้รวก โทร & iD Line : 081-7429045

คลิ๊ก เบอร์ติดต่อ เฮียดื้อ

0817429045

#ไม้ไผ่ #ขายไม้ไผ่รวก จากสวนปลูก เรา #ขายไม้ไผ่ปลีกส่ง ครับ

#ไม้ไผ่ตกแต่ง #ไม้เลี้ยงหอยแมลงภู่ #ไม้ไผ่เลี้ยงหอย #ไม้ค้ำส้ม ค้ำกล้วย ไม้ค้ำผัก ค้ำมะนาว #ไม่ไผ่ตากยาง ไม้ไผ่ตากยาง ส่งขั่นต่ำ 1 รถสิบล้อขึ้นไป

กด เพิมเพิ่อน ใน Line ครับ

Tel & Id-Line : 081-7429045

ติดต่อบริการรถเทรลเลอร์ทั่วไป

เว็บไซต์ใหม่

ขายส่ง ไม้ไผ่รวก ไม้ไผ่ตากยาง เราจำหน่ายไม้ไผ่รวก ขายส่ง ไม้ไผ่รวก ข้อถี่ ข้อห่าง จากแหล่งผลิด ภาคเหนือ เรามีไม้ไผ่สำหรับป้องกันตลิ่ง ไม้ไผ่กันคลื่น ไม้ไผ่เพื่อชะลอคลื่น เราขายส่งไม้ไผ่ ราคาถูก ไม่ไผ่รวก สำหรับเลี้ยงหอยแมลงภู่ #ไม้ไผ่ สำหรับงานตกแต่ง ชุบน้ำยากันมอด ไม้ตากยาง #ไม้ไผ่ตากยาง ร้าน #ขายไม้ไผ่ปลีกส่ง

ไม่ไผ่รวก สำหรับเลี้ยงหอยแมลงภู่ ไม้ไผ่ปักหอย #ไม้ไผ่ อายุ 4 ปี เนื้อแข็ง

ไม่ไผ่รวก สำหรับเลี้ยงหอยแมลงภู่ #ไม้ไผ่ปักหอย

การดูอายุของไม้ไผ่ ที่เกิน 4 ปี กาบจะไม่มีแล้ว

ขนาดไม้ความยาว 8 เมตร ( 4 วา ) และ ขนาดไม้ไผ่ความยาว 12 เมตร ( 6 วา )

ขนาดไม้ไผ่ความยาว 12 เมตร ( 6 วา )

ทีมงานขึ้น ไม้ไผ่ จำนวน 8 คน ค่าขึ้น 8,000.- บาท ต่อเทเลอร์ (รวมอยู่ในราคาไม้)

ทีมงานลงไม้ไผ่ จำนวน 2-4 คน ค่าลง 2,000.- บาท ต่อเทเลอร์ (ผู้ซื้อเป็นผู้จ่าย)

ทีมงานลงไม้ไผ่ จำนวน 2-4 คน ค่าลง 2,000.- บาท ต่อเทเลอร์ (ผู้ซื้อเป็นผู้จ่าย)

คนขับมือใหม่ เกิดอุบัติเหตุ ( เรารับผิดชอบความเสียหายให้ลูกค้า ทุกเที่ยว )

เอาคนงานมา คัดไม้ไผ่ ขึ้น พร้อมชดเชยค่าเสียหาย ให้ลูกค้า

คนงานขึ้น ไม้ไผ่ จำนวน 8 คน ( 8,000- บาท รวมอยู่ในราคาไม้แล้ว )

คลิ๊ก เบอร์ติดต่อ เฮียดื้อ

0817429045

ม้ไผ่รวกดำพันธ์เมืองน่าน ต.ไชยสถาน อ.เมือง จ.น่านปลูกมาแล้วประมาณ 4 ปีกว่า บอกขายตัดต้นไผ่ครั้งแรกของไร่กำลังwสมบูรณ์เต็มที่ เล่มละ 12 -20 บาท ขึ้นอยู่กับขนาดที่ต้องการส่วนสูงประมาณ 10 -15 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 3-4 นิ้ว เหมาะ เป็นไม้ค้ำยันในอุตสาหกรรมก่อสร้างเป็นไม้ขนาดกลาง ใช้งานได้หลากไม้ไผ่ชลอคลื่น ไม้ไผ่ป้องกันตลิ่ง ขายส่งไม้ไผ่

ดแล้วหมดเลย

หลายเอนกประสงค์กำลังเหมาะกับการปักเลื้ยงหอยทะเลทนน้ำเค็มดีมากๆๆๆๆๆๆๆ และอื่นๆทนต่อการกัดของน้ำได้ เป็นไม้สารพัดประโยชน์ ทำรั้ง ทำเสาโรงเรือน ทำเพิงพัก ทำศาลา โครงหลังคาแบบประหยัด ทำโรงเรือนทางการเกษตร สำหรับงานไม่ลวกอเนกประสงค์ดีเยี่ยม อยู่ในพื้นที่ 7 ไร่ จะเหมาหรือตัดรากิ่งเอง **โทร-คุยกันได้อย่างเป็นกันเองได้เล

ยหม




























669-1615 (เจ้าของลงประกาศเอง)......มีกิ่งพันธุ์

ไม้ไผ่เพื่อชะลอคลื่น ไม้ป้องกันตลิ่ง ไม้กันคลื่น

ไม้ไผ่ สั้น 4 เมตร,5 เมตร 6 เมตร สำหรับเลี้ยงหอยแมลงภู่ ขายส่งไม้ไผ่ ทั้งประเทศ

ซางนวล รวกดำเมืองน่าน รอขายในราคาถูกๆๆๆ จากไร่โดยตรง....เพราะปลูกเองขายเอง..ขอรับ (ลงข้อมูลใหม่เมื่อ 1 ส.ค. 2557)

ไม้ตากยาง ส่งขายทั่วประเทศ

เราขายส่งเท่านั้น ราคาขายส่ง ไม้ตากยาง

ร้านเรามีไม้ตากยางขายจำนวนมาก ไม้ตากยาง

ร้านเรามีไม้ตากยางขายจำนวนมาก

ร้านขายส่งไม้ตากยาง ทั่วประเทศ ราคาถูก ไม้มัด ไม้ตากยาง

ไม้ตากยาง ราคามัดล่ะ ลำละ 7.5 - 8 บาท

กองไม้ตากยาง ความยาว 2 เมตร

ไม้ตากยางพร้อมเตรียมส่งลูกค้าภาคใต้ ตรัง ชุมพร

ขายไม้ตากยาง ไม้ ตากยางพารา

กองไม้ตากยาง ไม้ ตากยางพารา ไม้ตากแผ่นยาง ( หรือ ไม้ราวยาง )

อัตราค่าบริการขนส่งสินค้า ทั่วประเทศไทย โดยประมาณ

Moving​ Transport service

Tel & Id-Line : 081-7429045

บริการรถเทรลเลอร์ ขนสินค้า

เทรลเลอร์รับจ้าง ราคาถูก - เทรลเลอร์รับจ้าง

เราเป็นผู้ให้บริการด้านรถเทรลเลอร์ ซึ่งมี รถเทรลเลอร์ขนของ ที่ขนสินค้าออกจากกรุงเทพไปทั่วประเทศและเข้า กทม

Moving​ Transport service

Tel & Id-Line : 081-7429045

ติดต่อบริการรถเทรลเลอร์ทั่วไปโทร & id-Line 0817429045 , 091-9697589

CALL MOBILE

งานบริการของเรา

รับจ้าง ขนส่ง สินค้า ตู้คอนเนอร์ บริการ รถเทรลเลอร์ (รถหัวลาก) รถสิบล้อ ทั่วไทย ทรานสปอร์ต (transport service) รถมี ประกันสินค้า และ พร้อมให้บริการ

เงื่อนไขการใช้บริการ จองรถเทรลเลอร์ขนส่ง

ส่วนการจ่ายเงินก็ง่ายดายครับ เรามีขั้นตอนดังนี้

1. จ่ายค่ามัดจำในการโอนเงินหลังตกลงงาน 1,000.-บาท/ต่อเที่ยว

( หรือตามข้อตกลง )

2. เก็บค่าบริการ หลังจากขึ้นหรือก่อนลงของ ในส่วนที่เหลือ

คำค้นหา

รถเทรลเลอร์ รถหัวลาก หางเพื้นเรียบ

บริษัทขนส่งเอกชน บริการจัดส่งสินค้าไปให้กับลูกค้าที่อยู่ต่างจังหวัดด้วยความรวดเร็วและปลอดภัย

Moving transport service

บริการรถเทรลเลอร์ ขนสินค้า

คำค้น

ซื้อ ขาย ไม้ไผ่ เราจำหน่ายไม้ไผ่รวก ขายส่ง ไม้ไผ่รวก ข้อถี่ ข้อห่าง จากแหล่งผลิด ภาคเหนือ เรามีไม้ไผ่สำหรับป้องกันตลิ่ง ไม้ไผ่กันคลื่น ไม้ไผ่เพื่อชะลอคลื่น เราขายส่งไม้ไผ่ ราคาถูก ไม่ไผ่รวก สำหรับเลี้ยงหอยแมลงภู่ ไม้ไผ่สำหรับงานตกแต่ง ชุบน้ำยากันมอด ไม้ตากยาง ไม้ตากยาง ราคาถูก

ร้านขายไม้ไผ่

ร้าน ไม้ไผ่นั่งร้าน

ร้านขายไม้ไผ่ ลำปาง ปราจีนบุรี ชัยภูมิ กาญจณบุรี

ราคาไม้ไผ่นั่งร้าน

ไม้ไผ่รวกราคามัดละ

ร้านขายไม้ไผ่ พิษณุโลก

ปลูกไม้ไผ่ขายต้น ปลูกไม้ไผ่ซาง

ร้านขายไม้ไผ่รวก

ร้านขายไม้ไผ่รวก สมุทรปราการ

ราคาไม้ไผ่นั่งร้าน

เช็คราคาไม้ไผ่

ร้านขายไม้ไผ่ นนบุรี

ขายไม้ไผ่รวกเลี้ยงหอยแมลงภู่

ร้านขายไม้ตากยาง

ไม้ไผ่ตากยาง

ขายส่งไม้ป้องกันตลิ่ง

ไม้ไผ่ชลอคลื่น

ไม้ไผ่ป้องกันชายฝั่ง สมุทรสาคร ชุมพร นครศรีธรรมราช

ไม้ตกแต่ง ไม้สวยงาน ไม้จัดงาน ไม้ตกแต่งโรงแรม ชุบน้ำยา

#ขายไม้ไผ่ปลีกส่ง #MenuToday #บ้านแม้นสวัสดิ์ #เฮียดื้อไม้ไผ่

#ไม้ไผ่ #ร้านขายไม้ไผ่

คุณอาจสนใจ

บ้านไม้ไผ่ศาลาไม้ไผ่กระท่อมไม้ไผ่

ฝ้าเพดานไม้ไผ่ ผนังไม้ไผ่ บริการค้ำยันต้นไม้

ไม้ไผ่ค้ำส้ม ไม้ค้ำส้ม ไม้ค้ำกลัย ไม้ค้ำกลัย

เฟอร์นิเจอร์ไม้ หลังคาไม้ไผ่ ไผ่เลี้ยง ไผ่ยืด ไผ่รวก ไม้ไผ่ ไผ่

ราคาไม้ไผ่รวก

ร้านขายไม้ไผ่ สมุทรปราการ

ราคาไม้ไผ่นั่งร้าน

ราคาไม้ไผ่ ลํา

ราคาไม้ไผ่สาน ทําฝาบ้าน

ราคาไม้ไผ่ตง

ร้านขายไม้ไผ่ นนทบุรี

ขายกระบอกไม้ไผ่ ราคา

แหล่ง ขาย ไม้ไผ่ ราคา ถูก

ไม้รวก มัดละ

ราคา ขาย ไม้ไผ่ รวก

ขายไม้รวก กาญจนบุรี

ต้องการ ขาย ไม้ไผ่ รวก

ไม้ไผ่ผ่าซีก ราคา

ไม้ไผ่มัดละ

ราคาไม้ไผ่ตง

ขายไม้ตากยางดิบ

บทความ

ข้อมูลเกี่ยวกับไผ่ การจำแนกพันธุ์ไผ่ในประเทศไทย (อ่าน 38903/ตอบ 0)

ข้อมูลเกี่ยวกับไผ่

ในประเทศไทยมีพันธุ์ไผ่หลากหลายชนิด ทางสวนไผ่โพธิ์พระยา สุพรรณบุรี จึงได้รวบรวมชื่อไผ่ในเมืองไทยและจำแนกลักษณะคร่าวๆ เพื่อให้สมาชิกสามารถแยก ชนิดและลักษณะพันธุ์ไผ่ในเมืองไทยได้พอสังเขป

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

ไผ่เป็นพันธุ์ไม้ยืนต้น ลำต้นแตกเป็นกอเป็นไม้พุ่มเล็กถึงขนาดใหญ่ กอหนึ่งมีประมาณ20-25ต้นพอ ลำต้นมีความสูงประมาณ5-15เมตร ลักษณะลำต้นเป็นข้อปล้อง ผิวเกลี้ยงแข็งมีสีเขียวหรือเหลืองแถบเขียว ขนาดสีขึ้นอยู่กับพันธุ์และชนิด ใบเป็นใบเดี่ยว กว้างประมาณ1-2นิ้ว ยาวประมาณ5-12นิ้ว ออกดอกเป็นช่อตามปลายยอดเมื่อไผ่ออกดอก ไผ่จะตายไปชาวบ้านทั่วไปเรียกไผ่ตายขุย คือตายทั้งตระกูล ผลหรือลูก คล้ายเมล็ดข้าวสาร

ถิ่นกำเนิด

ไผ่ มีถิ่นกำเนิดและการกระจายพันธุ์อย่างกว้างขวางเกือบทุกส่วนของโลก จัดอยู่ใน

ตระกูลหญ้า (Gramineae) และเป็นตระกูลหญ้าที่มีลำต้นสูงที่สุดในโลก เจริญเติบโตได้ดีทุกทวีป แต่พบมากที่สุดทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส่วนในเขตอบอุ่นก็พบไผ่อยู่บ้างแต่มีสกุลน้อยกว่าเขตร้อน

การแบ่งประเภทของไผ่ได้เป็น 3กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้คือ

1.พันธุ์ไผ่ที่ใช้ประโยชน์ในการ อุปโภค-บริโภค

2.พันธุ์ไผ่ที่หลากหลายสี เช่น ดำ เหลือง ทอง แดง ม่วง ชมพู

3.พันธุ์ไผ่ที่สวยงามแปลกตา เช่นไผ่น้ำเต้า น้ำเต้าลาย-ทอง

การจำแนกสายพันธุ์ไผ่ที่พบในเมืองไทย

1.สกุลอะรันดินาเรีย มีอยู่2ชนิดคือ ไผ่โจด และไผ่เพ็ก (หญ้าเพ็ก)

ไผ่โจด พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลำต้นมีสีเขียวอมเทามีความสูงประมาณ5เมตร ปล้องค่อนข้างสั้น 10-20 ซม. มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ7-10 มม. ไม่มีหนามหน่อมีสีเทาแกมเหลือง ลำต้นใช้ทำด้ามไม้กวาด จุดเด่นคือเหง้ามีลักษณะเด่นแปลกตา จึงนิยมมาทำเครื่องประดับภายในบ้าน อาจปลูกเป็นแนวรั้ว

และปลูกเป็นไผ่ประดับในบริเวณบ้าน หน่อใช้รับประทานได้

ไผ่เพ็กหรือหญ้าเพ็ก ไผ่ชนิดนี้พบได้ในไทย เวียดนามและกัมพูชา ส่วนในประเทศไทยพบมากทางอีสาน เจริญได้ดีในเขตแห้งแล้ง จึงเกิดไฟไหม้ป่าไผ่ชนิดนี้อยู่เป็นประจำ ลำต้นสูงไม่เกิน3เมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 5-7 มม.ขนาดของปล้องมีความยาว20-30ซม. ขึ้นรวมเป็นกอ นิยมเอามาทำแผงตากสาหร่ายทะเล

2.สกุลแบมบูซ่า แบ่งออกได้ 11ชนิด คือ ไผ่บง ไผ่ป่า(ไผ่หนาม) ไผ่ลำมะลอก ไผ่เหลือง(ไผ่จีน) ไผ่หอบ(ไผ่หอม) ไผ่เลี้ยง ไผ่สีสุก ไผ่บงหวาน ไผ่คันร่ม(ไผ่เปร็ง) ไผ่ดำ(ไผ่ตาดำ) และไผ่น้ำเต้า

ไผ่บง พบได้ทั่วไปตามป่าดงดิบ เป็นไผ่ขนาดใหญ่ เส้นผ่าศูนย์กลางของปล้อง6-10ซม. ความยาวปล้อง 20-30ซม. สูงประมาณ9-12เมตร ลำต้นนิยมใช้ทำเสื่อลำแพนและเยื่อกระดาษหน่ออ่อนนิยมมารับประทาน แม้จะมีรสขมอยู่บ้าง

ไผ่ป่า หรือไผ่หนาม พบได้ทุกภูมิภาคของประเทศ ต้นอ่อนมีสีเขียวเข้ม เมื่อแก่จัดมีสีเขียวอมเหลือง เป็นไผ่ขนาดใหญ่ มีหนามคมและขนมาก เส้นผ่าศูนย์กลางของปล้อง 10-15เซนติเมตร ลำต้นใช้ทำนั่งร้านในการก่อสร้างหรือทาสีอาคาร และทำเครื่องจักสานอื่น หน่อใช้รับประทานได้

ไผ่ลำมะลอก พบได้ในทุกภูมิภาคของประเทศ แต่ในภาคใต้จะพบน้อยกว่าภาคอื่น ลำต้นมีสีเขียวเข้ม ไม่มีหนาม ข้อเรียบ กิ่งก้านและใบเกิดที่บริเวณลำต้น สูงจากพื้นดิน 6-7เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 7-10 เซนติเมตร สูงเฉลี่ย 10-15 เมตร ลำต้นค่อนข้างไม่อัดแน่น นิยมนำมาใช้ทำนั่งร้านในการก่อสร้าง ทำเสาโป๊ะ เฟอร์นิเจอร์ และงานจักสารที่ไม่ต้องการความประณีต หน่อใช้รับประทานได้

ไผ่เหลือง หรือ ไผ่จีน ไผ่ชนิดนี้สันนิษฐานว่านำเข้าจากประเทศจีน จึงไม่พบทั่วไป ลำต้นมีสีเหลือง มีลายเส้นเป็นแถบสีเขียว พากตามความยาวของปล้อง ผิวเกลี้ยง มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 5-10 เซนติเมตร ความยาวปล้องประมาณ 20-25 เซนติเมตร ความสูงเฉลี่ย 10-15เมตร หน่อมีสีเหลืองอ่อน นิยมนำมาปลูกเป็นไม้ประดับ เนื่องจากลำต้นมีสีสวยงาม หน่อใช้บริโภคได้แต่ไม่เป็นที่นิยม

ไผ่หอบ หรือ ไผ่หอม พบมากที่จังหวัดเชียงราย ลำต้นสูงประมาณ 10 เมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลางของปล้อง 7.5-15 เซนติเมตร และยาว 40 เซนติเมตร ใบมีขน เมื่อสัมผัสผิวหนังจะรู้สึกระคายเคืองและคัน ลำต้นใช้ประโยชน์ได้น้อย หน่อมีรสขม จึงไม่มีการนำมารับประทาน

ไผ่เลี้ยง พบมากในภาคกลาง ลำต้นมีสีเขียวสด เป็นไผ่ขนาดเล็ก ปล้องมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2-3 เซนติเมตร และยาว 20-25 เซนติเมตร ลำต้นไม่มีหนาม นิยมใช้ทำคันเบ็ดและส่วนประกอบของเฟอร์นิเจอร์ ลำต้นแข็งแรง เนื้อต้นเกือบไม่มีช่องว่างภายใน บางแห่งนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ หน่อรับประทานได้ แต่ไม่นิยมรับประทาน

ไผ่สีสุก พบได้ทั่วไป แต่พบมากในบริเวณภาคกลางของประเทศ เป็นไผ่ชนิดที่สูงใหญ่ ลำต้นสีเขียวสด หน่อสีเทาอมเขียว ปล้องมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 7-10 เซนติเมตร ยาว 10-30เซนติเมตร บริเวณข้อมีกิ่งคล้ายหนามหน่อมีขนาดใหญ่ มีขนสีน้ำตาล น้ำหนักหน่อประมาณ3-4 กิโลกรัม ไผ่ชนิดนี้มีเนื้อหนาแข็งแรง ทนทานและเหนียว จึงนิยมนำไปใช้ประโยชน์มากกว่าไผ่ชนิดอื่นๆ ไม่ว่าจะทำเครื่องจักสาร เฟอร์นิเจอร์ นั่งร้านในการก่อสร้าง และนอกจากนี้ส่วนโคนของลำต้นยังนิยมใช้ทำไม้คานสำหรับหาบหามได้ดีมาก

ไผ่บงหวาน พบได้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และพบมากที่สุดที่จังหวัดเลย ลำต้นอ่อนมีสีเขียวใบไม้ เมื่อแก่มีสีเขียวเข้ม เส้นผ่าศูนย์กลางของปล้อง 5-8 เซนติเมตร สูง5-10 เมตร มีหน่อสีเขียว น้ำหนักประมาณครึ่งกิโลกรัม ลำต้นนิยมนำมาทำดอกมัดสิ่งของ ทำไม้ค้ำยัน บันไดและเครื่องจักสาน หน่อมีรสหวานหอมอร่อย นิยมนำมาประกอบอาหารได้หลากชนิด

ไผ่คันร่ม หรือ ไผ่เปร็ง พบมากที่จังหวัดปราจีนบุรี ตราด และระยอง ลำต้นอ่อนมีสีเขียวใบไม้ เมื่อแก่จัดสีเขียวเข้ม เส้นผ่าศูนย์กลางของปล้อง 3-5 เซนติเมตร ต้นสูง 8-10เมตร หน่อมีสีเขียวอมเทา แต่เลือกหน่อจะมีสีแดง ลำต้นมีเนื้อหนา จึงนิยมนำมาทำบันไดโป๊ะ และหลักของการเลี้ยงหอยแมลงภู่

ไผ่ดำ หรือ ไผ่ตาดำ พบมากในป่าทึบ แถบจังหวัดกาญจนบุรี และจันทบุรี ต้นมีสีเขียวคล้ำเกือบเป็นสีดำ ไม่มีหนาม เส้นผ่าศูนย์กลางของปล้อง 7-10 เซนติเมตร และยาว 30-40 เซนติเมตร สูง 10-12 เมตร มีเนื้อหนา นิยมนำลำต้นไปใช้ทำนั่งร้านก่อสร้างและเครื่องจักสานต่างๆ หน่อใช้รับประทานได้

ไผ่น้ำเต้า พบได้ทั่วไป เป็นไผ่ที่มีปล้องสั้น ลำมีสีเขียว อาจมีแถบสีเหลือตามปล้อง และจะโป่งออกตอนกลางปล้องและตอนกลางของกิ่ง ปล้องมีเส้นผ่าศูนย์ลาง 4-8 เซนติเมตร สูง 3-4 เมตร แขนงแตกออกจากต้นที่สูงจากระดับพื้นดินประมาณ 1.5 เมตร หน่อมีสีเหลือง ไผ่ชนิดนี้เชื่อว่านำเข้าจากประเทศจีน ไผ่น้ำเต้าส่วนใหญ่นิยมปลูกเป็นไม้ประดับในบริเวณบ้านหรือปลูกในกระถางไว้โชว์

3. สกุลเซฟาลอสทาคียัม มี 2 ชนิด คือ ไผ่ข้าวหลาม ไผ่เฮียะ หรือไผ่เหียะ

ไผ่ข้าวหลาม พบมากบริเวณตอนเหนือของจังหวัดกาญจนบุรีและภาคตะวันออกเฉียงเหนือบางส่วน มีปล้องยาว 30 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางของลำไผ่เฉลี่ย 5-7.5เซนติเมตร ลำไผ่มีสีเขียวอมเทา มีความสูงเฉลี่ยระหว่าง 7-8 เมตร หน่อมีขนาดใหญ่ กาบน้ำสีหมากสุก ต้นไผ่นิยมนำมาทำกระบอกข้าวหลาม หน่อรับประทานได้แต่ไม่เป็นที่นิยม

ไผ่เฮียะ หรือ ไผ่เหียะ ลำไผ่มีเส้นผ่าศูนย์ลาง 5-10 เซนติเมตร ปล้องยาว 50-70เซนติเมตร ข้อเรียบ มีกิ่งเพียงเล็กน้อย เนื้อหนาประมาณ 1-2 เซนติเมตร มีความสูง 10-18เมตร ลำต้นนำไปทำโครงสร้างบ้านเรือนและเครื่องจักสานต่างๆ หน่อรับประทานได้แต่ไม่เป็นที่นิยมกัน

4. สกุลเดนโดรคาลัส ได้แก่ ไผ่ชาง หรือไผ่นวลหรือไผ่ปล้อง ไผ่หก หรือไผ่นวลใหญ่ ไผ่เป๊าะ หรือไผ่เปราะ ไผ่ตง

ไผ่ซาง หรือ ไผ่นวล หรือ ไผ่ปล้อง พบในป่าดิบทั่วไป ลำต้นมีสีเขียวนวล ปล้องยาว 50-70 เซนติเมตร มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 3-12 เซนติเมตร ลำต้นสูง 8-10 เมตร ไม่มีหนาม หน่อมีสีน้ำตาลปนส้มและมีขนสีน้ำตาล ไผ่ชนิดนี้เนื้ออ่อนและเหนียว สามารถจักดอกเป็นเส้นเล็กๆได้ จึงนำยมนำมาใช้ทำเครื่องจักสานที่ต้องการรายละเอียดสูง หน่อรับประทานได้ ไผ่ซางหรือไผ่นวล พบมากที่ภาคเหนือ และภาคกลางของประเทศ ลำต้นใช้ทำนั่งร้านก่อสร้าง ทำเครื่องจักสาน และเยื่อกระดาษ หน่อใช้รับประทานได้

ไผ่หก หรือ ไผ่นวลใหญ่ พบมากในภาคเหนือและจังหวัดกาญจนบุรี ไผ่ชนิดนี้ลำต้นมีสีเขียวอมเทา และมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 15-20 เซนติเมตร ปล้องมีความยาว 40-50เซนติเมตร ลำต้นสูงประมาณ 10-15 เมตร ลำผ่นำยมนำมาทำเผื่อกระดาษ และเครื่องจักสานต่างๆ หน่อใช้รับประทานได้แม้มีรสเข้มอยู่บ้าง

ไผ่เป๊าะ หรือ ไผ่เปราะ พบที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ลำต้นมีสีเขียว มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10-20 เซนติเมตร เนื้อแข็งเปราะ ข้อเรียบ ปล้องยาวประมาณ 30เซนติเมตร ลำต้นสูงถึง 30 เมตร หน่อมีขนาดใกล้เคียงกับลำผ่และมีสีเหลืองอมขาว ไผ่ชนิดนี้นิยมนำมาทำกระบอกข้าวหลาม ไม่นิยมนำมาทำเครื่องจักสาน เนื่องจากมีเนื้อแข็งและเปราะ

ไผ่ตง มีมากในจังหวัดปราจีนบุรี ไผ่ตงเป็นไผ่ขนาดใหญ่ ลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6-15 เซนติเมตร ปล้องยาว 20 เซนติเมตร ปล้องยาว 20 เซนติเมตร ไม่มีหนาม โคนต้นมีลายสีขาวสลับเทา ลำต้นมีขนสั้นๆขึ้นอยู่ หน่อมีน้ำหนักประมาณ 3-10 กิโลกรัม ไผ่ตงแบ่งออกเป็นไผ่ตงเขียว ไผ่ตงดำ ไผ่ตงหม้อ และไผ่ตงหนู เนื้อไม้นิยมนำมาใช้ทำเครื่องจักสานและไม้จิ้มฟัน หนอนิยมนำมาปรุงอาหารได้หลากชนิด

5. สกุลไดโนเคลา ได้แก่ ไผ่ลาน หรือไผ่เลื้อย

ไผ่ลาน หรือ ไผ่เลื้อย พบมากในภาคใต้ของประเทศ ลำต้นมีลักษณะคลายเถาวัลย์เลื้อยหรือพาดไปตามต้นไม้ที่อยู่ใกล้เคียง ลำต้นมีสีเขียว เส้นผ่าศูนย์กลางองต้นไผ่ประมาณ1 เซนติเมตร เนื้อบาง ใบและลำต้นมีขนสีน้ำตาลเป็นจำนวนมาก ปล้องยาว 10 -20เซนติเมตร ไผ่ชนิดนี้นิยมนำไปใช้เป็นส่วนประกอบสมุนไพรรักษาโรค

6. สกุลจิกแอนโทเคลา ได้แก่ ไผ่มัน หรือไผ่เปาะ ไผ่ไร่ ไผ่ไล่ลอ ไผ่แนะ หรือไผ่คาย ไผ่ผาก ไผ่คายดำ ไผ่บงคาย

ไผ่มัน หรือ ไผ่เปาะ พบมากในภาคใต้ของประเทศ ลำไผ่สีเขียวมัน ไม่มีหนาม เส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ย 8-10 เซนติเมตร ปล้องยาว 30-40 เซนติเมตร ทรงกอโปร่ง ลำต้นสูง 10 -15 เมตร หน่อมีสีน้ำตาลแก มีน้ำหนักเฉลี่ย 3-4 กิโลกรัม ลำไผ่ใช้ทำส่วนประกอบโครง สร้างบ้านเรือนและเครื่องจักรสานต่างๆ หน่อใช้รับประทานได้

ไผ่ไร่ พบได้ทุกภาคของประเทศ ลำต้นมีสีเขียวปนเทา ผิดสาก แต่ไม่มีหนาม มีขนทั่วลำต้น เป็นไผ่ขนาดเล็ก มีเส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้นเพียง 1.5-2.5 เซนติเมตร ปล้องยาว30 เซนติเมตร การแตกกอหนาแน่นมาก นิยมนำมาใช้ค้ำยัน หรือทำเสาหลักในการเกษตรบางชนิด

ไผ่ไล่ลอ ลำต้นสีเขียวอ่อน พบมากที่ภาคเหนือ ขณะแทงกิ่งผลิใบ ต้นไผ่กาบจะหลุดออกมาหมด มีเส้นผ่านศูนย์กลางของลำต้น 3-8 เซนติเมตร และมีปล้องยาว 14-50เซนติเมตร ลำไผ่นิยมนำมาทำรั้วบ้าน คอกสัตว์ และทำเครื่องเรือนได้ดี หน่อใช้รับประทานได้ แต่ไม่เป็นที่นิยมกัน

ไผ่แนะ หรือ ไผ่คาย พบมากในป่าดิบภาคใต้ มีลำต้นสีเขียว เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2-3 เซนติเมตร ปล้องยาว 30-35 เซนติเมตร มีความสูงเพียง 3-4 เมตร หน่อมีสีเหลือง ลำไผ่ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์ หน่อใช้รับประทานได้ ไผ่ตากวาง พบในป่าดิบภาคใต้ ผิวลำต้นเกลี้ยง สีเขียวอมเหลือง มีเส้นผ่านศูนย์กลางของลำไผ่ 4-6 เซนติเมตร ปล้องยาว 30-40 เซนติเมตร สูงประมาณ 5 เมตร ลำต้นใช้ทำเฟอร์นิเจอร์ หน่อใช้รับประทานได้

ไผ่ผาก พบมากที่ภาคใต้และจังหวัดกาญจนบุรี มีลำต้นสีเขียว ไม่มีหนาม ไผ่ชนิดนี้เป็นไผ่ขนาดใหญ่ มีเส้นผ่านศูนย์กลางของลำไผ่ 10-13 เซนติเมตร มีหน่อขนาดใหญ่ มีน้ำหนัก2-3 กิโลกรัม ลำไผ่ทำเข่งใส่ถ่านเพื่อจำหน่าย เครื่องใช้ในครัวและเยื่อกระดาษ หน่อมีรสขม ก่อนนำมาประกอบอาหารต้องต้มในน้ำร้อนและเททิ้ง 1-2 ครั้ง ก็ใช้ได้

ไผ่คายดำ พบที่จังหวัดกาญจนบุรีและระนอง ลำต้นมีสีเขียวเข้ม ปล้องห่าง ข้อใหญ่ ไม่มีหนาม เป็นไผ่ที่มีลำต้นสูงใหญ่ เส้นผ่านศูนย์กลางของลำไผ่ประมาณ 7-10 เซนติเมตร หน่อมีสีเขียว ไผ่ชนิดนี้ใช้ประโยชน์ได้น้อย ไม่เหมาะนำมาใช้ประโยชน์ เนื่องจากเนื้อไผ่เปราะหักง่าย หน่อมีรสขม จำไม่นิยมนำมาประกอบอาหาร

ไผ่บงคาย พบมาที่จังหวังเชียงราย ลำต้นมีสีเขียวอ่อน ข้อปล้องมี 2 ชั้น ชั้นล่างเรียบ ส่วนชั้นบนมีปมราก ข้อต่อมีสีเขียวหม่น เส้นผ่านศูนย์กลางของลำไผ่ 5-8 เซนติเมตร และยาว 40-50 เซนติเมตร ลำต้นสูงประมาณ 10-13 เมตร ลำต้นใช้ทำเครื่องจักสานได้ดี หน่อไม้นิยมนำมาประกอบอาหารเนื่องจากมีรสชาติดี

7. สกุลมีโลแคนนา ไผ่สกุลนี้มีเพียงชนิดเดียวคือ ไผ่เกรียบ พบในป่าทึบทั่วไป เป็นไผ่มีลำต้นขนาดใหญ่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 8-15 เซนติเมตร ปล้องยาว 50-120 เซนติเมตร เนื้อหนาเฉลี่ยครึ่งเซนติเมตร ข้อเรียบ แขนงเล็ก ต้นสูง 10-15 เมตร หน่อมีขนาดใหญ่ สีเขียวกาบสีเหลืองอมส้ม บริเวณข้อมีสีแดง ไผ่ชนิดนี้นำมาใช้ประโยชน์ได้น้อย ส่วนใหญ่ปลูกไว้ประดับสวน

e

8.สกุลนีโอฮูซัว พบเพียงชนิดเดียวคือ ไผ่หลอด พบที่จังหวัดตราด ลำต้นสีเขียวเป็นมัน ไผ่ชนิดนี้เป็นไผ่ขนาดมีขนาดเล็ก ปล้องยาว 10-15 เซนติเมตร มีความสูงเพียง 4เมตร หน่อมีขนาดเล็ก สีเทาในอดีตนิยมนำมาทำหลอดด้าย แต่เนื่องจากมีการนำสารสังเคราะห์มาใช้ทดแทน ปัจจุบันจึงไม่มีการนำมาทำหลอดด้ายอีก

9. สกุลซูโดซาซา พบมาในจังหวัดเพชรบูรณ์ มีเพียงชนิดเดียว แต่ยังไม่มีการศึกษาในรายละเอียด

10. สกุลไซโซสตาคียัม มี 3 ชนิด คือ ไผ่โป และไผ่เฮียะ พบมากที่จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดตรง แต่ยังไม่มีการศึกษาในรายละเอียด

11.สกุลเทียโนสตาคียัม มี 2 ชนิด คือ ไผ่เฮียะเครือ และไผ่บงเลื้อย พบที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดใกล้เคียง ยังไม่มีการศึกษาในรายละเอียด

12. กสุลไธโซสตาซัส มี 2 ชนิด คือ ไผ่รวก พบมากที่จังหวัดกาญจนบุรี เป็นไผ่ที่มีลำต้นขนาดเล็ก มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-7 เซนติเมตร สูงประมาณ 5-10 เมตร แตกกอเป็นพุ่มแน่นพอประมาณ ลำต้นนิยมทำวัสดุก่อสร้าง ไม้ค้ำยันต้นไม้และใช้ทำเยื่อกระดาษ หน่อใช้รับประทานได้ ส่วนใหญ่เก็บถนอมด้วยวิธีทำหน่อไม้ปีบ และไผ่รวกดำ พบมากในภาคเหนือ ลำต้นมีสีเขียวเข้ม ผิวเรียบเป็นมัน มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 4-7 เซนติเมตร ปล้องยาว 23-30เซนติเมตร ลำต้นสูง 10-15 เมตร เนื่องจากลำต้นมีเนื้อไม้แข็งแรง ทนทาน จึงนิยมนำมาทำโครงร่มกระดาษและพัด เครื่องประดับอื่นๆ และเฟอร์นิเจอร์ หน่อรับประทานได้ แต่ไม่นิยม

ขอขอบคุณข้อมูลจาก : สวนไผ่โพธิ์พระยา สุพรรณบุรี (ตงลืมแล้ง)

บทความ เลี้ยงหอยแมลงภู่

อาชีพเลี้ยงหอยแมลงภู่ มีผู้นิยมทำกันมากตามแถบจังหวัดที่อยู่ติดกับทะเล ที่ตำบลบ้านแหลม อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ก็มีผู้ประกอบอาชีพฟาร์มหอยแมลงภู่จำนวนมากเช่นกัน โดยมีผู้ประกอบอาชีพนี้ประมาณ 300 ราย เนื้อที่ประมาณ 5,000 ไร่ ซึ่งเป็นที่ติดทะเล

คุณอร่าม หงษ์ทอง ชาวตำบลบ้านแหลมเล่าว่า เขามีพื้นที่เลี้ยงหอยแมลงภู่อยู่ 18 ไร่ ยึดอาชีพเลี้ยงหอยแมลงภู่มา 4 ปีแล้ว เดิมเป็นชาวประมง ออกหาปลาตามชายฝั่งทะเล แต่เปลี่ยนอาชีพเพราะน้ำมันแพงและหาปลาได้น้อยลง

การเลี้ยงหอยแมลงภู่ของคุณอร่าม หงษ์ทอง ได้พัฒนาจากวิธีการเลี้ยงแบบดั้งเดิมที่ชาวบ้านเลี้ยงสืบต่อกันมานาน คือ ในปีหนึ่งจะเลี้ยงหอย 2 ครั้งต่อรุ่น

วิธีการเลี้ยง จะใช้ไม้ไผ่ปักในทะเลประมาณ 3 เดือน เพื่อให้ลูกหอยแมลงภู่มาเกาะ เมื่อได้ลูกหอยแมลงภู่มาจะนำมาแบ่งเลี้ยงบนไม้ไผ่อีกหลาย ๆ ลำ โดยเอาอวนมาหุ้มเพื่อป้องกันหอยร่วง เลี้ยงไปประมาณ 7-8 เดือนก็จะได้หอยที่มีขนาด 20 ตัวต่อกิโลกรัม นำมาขายได้กิโลกรัมละ 4 บาท ถ้าขูดเพรียงทำความสะอาดจะขายได้กิโลกรัมละ 5-6 บาท ปีหนึ่งทำเงินได้ประมาณ 150,000 บาท ซึ่งก็ดีกว่าการทำประมง เพราะเป็นอาชีพที่รายได้แน่นอน ตลาดมีความต้องการสม่ำเสมอ ไม่มีปัญหาเรื่องราคา

ขั้นตอนการเลี้ยง คือ นำไม้ไผ่รวกมาตัดขนาดต่างกัน ตั้งแต่ 2.50,3.50 และ 4 เมตร ไม้ไผ่ซื้อจากเมืองกาญจน์ มีคนกลางนำมาขายให้ราคาเมตรละ 1 บาท ต่อมาก็เป็นเชือก และอวน

อวนซื้อเป็นพับใหญ่ ๆ พับหนึ่งหนักราว 3.8 กิโลกรัม ราคา 195 บาท เอามาตัดให้แต่ละชิ้นให้มีความยาวขนาด 17-20 ตาอวน หน้ากว้าง 1 เมตร จะได้อวนแผ่นเล็กพอดีหุ้มไม้ไผ่ได้ 500 ลำ

ในการเลี้ยงหอยแมลงภู่ ครั้งแรกนำไม้ไผ่ไปปักในทะเลใช้เวลา 3-4 เดือน เมื่อได้ลูกหอยติดลำไม้ไผ่ขึ้นมา ก็จะนำมาแบ่งใส่ลำไม้ไผ่ที่เตรียมไว้ ให้ขนาดลูกหอยมีจำนวนพอเหมาะ ในการปักล่อลูกหอยครั้งแรก ปักไม้ลึกประมาณ 1 เมตร ห่างกันประมาณ 30-50 เซนติเมตร ระหว่างแถวห่างประมาณ 1.5-2 เมตร เมื่อครบกำหนด กู้ไม้ไผ่ขึ้นมาก็จะมีลูกหอยมาเกาะไม้ไผ่เป็นกลุ่ม หรือเรียงกันเป็นจำนวนมาก

พอกู้มาก็เตรียมคน อวน เชือก ไม้ไผ่รอที่ศาลา ยกหอยลงจากเรือใช้เท้าเหยียบให้ลูกหอยหลุดจากไม้ไผ่ นำไปใส่ลงในอวน เอาลำไม้ไผ่มาวาง เอาเชือกร้อยปิดปากอวนไม่ให้หอยหลุด ส่วนลูกหอยที่ติดกันเป็นก้อนก็นำพวงหอยมาผูกติดไม้ไผ่ได้เลย ห่างกันพวงละ 5-6 นิ้ว ร้อยอวนคลุมไว้ จากนั้นก็นำลำไม้ไผ่ที่มีลูกหอยกลับไปปักไว้ในทะเลที่เดิมอีกครั้ง คราวนี้จะปักไม้ไผ่เป็นวงกลมลักษณะเหมือนกระโจม เพื่อป้องกันคลื่นหรือพายุพัดทำลาย กระโจมหนึ่งปักไม้ไผ่ประมาณ 6 ลำปักลึกลงไปในดินประมาณ 1 เมตร ปักเป็นวงกลมให้ปลายไม้ไผ่มารวมกันใช้เชือกไนล่อนผูกปลายรวมกันไว้ แต่ละกระโจมห่างกันประมาณ 1.50 เมตร จะทำให้มีอาหารพอ หอยโตเร็ว

หลังจากปักไม้ไผ่ลูกหอยแบบกระโจมสัก 3-4 วัน ก็จะเอามีดกรีดอวนที่คลุมตัวหอยให้ขาด ไม่ให้อวนรัดตัวหอย มิฉะนั้นหอยที่โตจะอัดกันแน่นและตายในที่สุด ในตอนนี้หอยจะเติบโตเอง ต้องขยันดูแล มิฉะนั้นคนจะมาขโมย หรือมีปัญหาอื่นต้องดูแล เช่นเชือกที่ผูกหอยรวมกันจะขาด หรือไม้ไผ่หัก ก็แก้ปัญหาได้ทัน

พอเลี้ยงไปประมาณ 7-8 เดือน หอยโตได้ขนาด คือประมาณ 20 ตัวต่อกิโลกรัมก็กู้หอยมาส่งตลาด ตลาดมหาชัยและตลาดสี่มุมเมือง มีแม่ค้าประจำคอยรับซื้อ ราคาแน่นอน รับปริมาณมาก จึงไม่มีปัญหาสินค้าล้นตลาด นับเป็นอาชีพที่มีความมั่นคง รายได้ดีพอสมควรทีเดียว

ศุภชัย นิลวานิช. “เลี้ยงหอยแมลงภู่” มติชนรายวัน. ( 3 มิถุนายน 2543 ) หน้า 16.

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับไผ่

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับไผ่ "ไผ่" เป็นพืชที่มีวิวัฒนาการมาจากพืชตระกูลหญ้าและมีเนื้อไม้ให้ใช้สอยได้ เป็นพืชที่มีอายุยืน บางชนิดมีอายุยืนยาวเป็นร้อยปี และมีการเจริญเติบโตเร็วที่สุดในโลก บางชนิดโตได้ถึง 2 ฟุตต่อวัน มี คุณค่าสารพัดประโยชน์ ทั่วโลกมีไผ่อยู่ประมาณ 80 สกุล 1 ,500 ชนิด มีถิ่นก าเนิดและกระจายพันธุ์ ตามธรรมชาติอย่างกว้างขวางครอบคลุมเกือบทุกส่วนทั่วโลก ยกเว้นในยุโรปและแถบตะวันตกของอาฟ ริกา ส าหรับประเทศไทยพบไผ่ท้องถิ่นจ านวน 17 สกุล ประมาณ 72 ชนิด โดยเกือบทั้งหมดเป็นไผ่ ประเภทที่ขึ้นเป็นกอ กลุ่มงานพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี ส านักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ กรมป่าไม้ www.forest.go.th ไผ่ ด้านอาหารและยา หน่อไผ่มีรสชาติอร่อย อุดมไปด้วยวิตามิน แร่ธาตุ และสารอาหาร มีทั้ง ไฟเบอร์และโปตัสเซียมในปริมาณสูง วิตามิน A, B6, E, แคลเซียม,แมกนีเซียม, สังกะสี, ทองแดง, เหล็ก, โครเมียม, สารต้านอนุมูลอิสระ สารต้านแบคทีเรียและ ไวรัส สารป้องกันการก่อมะเร็ง รวมถึงกรดอะมิโนต่างๆ อีก 17 ชนิด สารสกัด จากใบไผ่มีสารที่เป็นตัวยาปกป้องเส้นเลือดที่สมองและหัวใจ ปรับระดับไขมันและ ลดความหนืดของเลือด ถ่านไม้ไผ่คุณภาพสูง ถ่านไม้ไผ่ที่ได้จากการเผาที่อุณหภูมิสูงประมาณ 1 ,000 ๐ C ขึ้นไป จะแตกต่าง จากถ่านไม้ทั่วๆ ไป โดยจะมีรูพรุนจ านวนมหาศาล ท าให้มีพื้นที่ผิวสูงมาก เพิ่ม ความสามารถในการดูดซับกลิ่น ความชื้น สารพิษ สารเคมี ช่วยฟอกอากาศ ก าจัด แบคทีเรีย ช่วยปลดปล่อยประจุลบ และอินฟราเรดคลื่นยาว ช่วยดูดซับรังสี ช่วยให้ ระบบไหลเวียนของเลือดดีขึ้น ใช้ท าเครื่องส าอางรักษาผิว ท าสบู่ รวมถึงใช้ท าถ่านกัม มันต์ (activated carbon) ซึ่งเป็นวัสดุคาร์บอนที่มีพื้นที่ผิวสูงมาก สามารถน ามาใช้เป็น องค์ประกอบในอุตสาหกรรมต่างๆ มากมาย เช่น อุตสาหกรรมยาและเครื่องส าอาง ไส้กรองน้ า ไส้กรองอากาศ วัสดุปรับปรุงบ ารุงดิน และบ าบัดน้ าเสีย เป็นต้น น าส้มควันไม้ ในกระบวนการผลิตถ่านไม้ไผ่คุณภาพสูง นอกจากจะได้ถ่านไม้ไผ่แล้ว ยังได้ น้ าส้มควันไม้ ( wood vinegar) ที่มีคุณภาพดีและใช้ประโยชน์ได้หลากหลาย ตั้งแต่ใช้ ผลิตสารดับกลิ่นตัว ยารักษาโรคผิวหนัง ใช้ผสมกับแชมพูรักษารังแค ผมร่วง เชื้อรา ป้องกันเห็บหมัดในสัตว์ ใช้ผสมน้ าพ่นหรือเช็ดถูพื้นก าจัดกลิ่นเหม็นจากเชื้อราในบ้าน ใช้เป็นปุ๋ยปรับปรุงบ ารุงดิน เป็นสารยืดอายุความสดของดอกไม้ ใช้ท าสารป้องกัน ก าจัดศัตรูพืช และสารเร่งการเจริญเติบโตของพืช รวมถึงสารยับยั้งและควบคุมโรคพืชที่มีสาเหตุจาก ไส้เดือนฝอยและเชื้อรา น้ำ มนัดิบชีวมวล ก๊ำซชีวภำพ เช้ือเพลิงอดัเมด็ ผงถ่ำนชีวมวล ไผ่ พืชทางเลือกส าหรับพลังงานทดแทน ไผ่เป็นพืชที่มีศักยภาพสูงในด้านพลังงานโดยสามารถน ามาผลิตเป็นเชื้อเพลิงอัดเม็ดที่มีค่า พลังงานความร้อนสูง หรือน าไปสกัดเป็นน้ ามันดิบชีวมวล หรือผลิตก๊าซชีวมวลเพื่อใช้เป็นพลังงาน ทดแทนในอนาคตได้อีกด้วย ไผ่ พืชเส้นใยส าหรับอนาคต เส้นใยที่ได้จากไผ่นั้น สามารถน ามาถักทอเป็นเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มระดับ คุณภาพ มีความนุ่มเหมือนไหมทนทาน ยืดหยุ่น โปร่ง และซึมซับความชื้นได้มากกว่า ผ้าฝ้ายถึง 2 เท่า ท าให้สวมใส่สบาย สามารถดูดซับรังสีอัลตร้าไวโอเล็ต ( UV) ป้องกันเชื้อแบคทีเรียได้ดี และที่ส าคัญมีสารก าจัดกลิ่นอยู่ในตัว ท าให้เสื้อผ้าที่ท า จากเส้นใยไผ่ไม่ค่อยมีกลิ่นเหม็น ในแง่ของสิ่งแวดล้อม เสื้อผ้าที่ผลิตจากเส้นใยไผ่จะ ได้รับการส่งเสริมมากขึ้นในอนาคต เนื่องจากการปลูกไผ่เพื่อผลิตเส้นใยนั้น ไม่ จ าเป็นต้องใช้สารก าจัดศัตรูพืชหรือต้องการการดูแลรักษาเป็นพิเศษเหมือนกับการปลูกฝ้ายเพื่อผลิต เส้นใยซึ่งสารก าจัดศัตรูพืชที่ต้องใช้กับฝ้ายนั้น มีการใช้ในปริมาณที่สูงถึง 25% ของสารก าจัดศัตรูพืชที่ ใช้กันอยู่ทั่วทั้งโลก ดังนั้นการปลูกไผ่เพื่อผลิตเส้นใย จึงเป็นการช่วยลดมลพิษและมลภาวะให้กับ สิ่งแวดล้อมได้อย่างดี ไม้ไผ่ วัสดุทดแทนไม้ในอนาคต ไม้ไผ่ เมื่อน ามาผ่านขั้นตอนหรือการแปรรูปอย่างถูกวิธี จะสามารถป้องกัน ไม่ให้มอดและแมลงเข้าท าลายได้ เนื้อไม้จะมีความแข็งแกร่งเหมือนไม้เนื้อแข็งหรือ เหนือกว่า และมีความยืดหยุ่นสูง โดยเฉพาะเมื่อน ามาแปรรูปเป็นแผ่นไม้ลามิเนต จะ มีความแข็งแกร่งใกล้เคียงกับเหล็กอ่อน (mild steel) เลยทีเดียว และเมื่อเทียบกัน บน พื้นฐานของมวลต่อปริมาตรระหว่างไม้ไผ่ คอนกรีต ไม้เนื้อแข็ง และเหล็กแล้ว ไม้ไผ่ เป็นอันดับที่สองรองจากคอนกรีตในเรื่องของความแข็งแรง ( strength) แต่อยู่ใน อันดับแรกในเรื่องของความแกร่งและยืดหยุ่น ( stiffness) ซึ่งในอุตสาหกรรมไม้พื้น นั้น พื้นที่ท าจากไม้ไผ่จะมีความแข็ง ( hardness) มากกว่าไม้เนื้อแข็งอย่างไม้โอ๊ค (Oak) เลยทีเดียว และจากการที่ไม้ไผ่เป็นวัสดุที่มีความแข็งแรงและยืดหยุ่นสูง จึงมี ความเหมาะสมเป็นอย่างยิ่งในการน ามาสร้างเป็นที่อยู่อาศัยในบริเวณพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด แผ่นดินไหว เนื่องจากไผ่เป็นพืชที่ปลูกง่าย เติบโตเร็ว สามารถตัดฟันมาใช้ได้อย่างต่อเนื่อง จึงมี ศักยภาพที่จะเป็นวัสดุทดแทนไม้ได้อย่างยั่งยืนในอนาคต ไผ่ กับหนอนรถด่วนและแมลงทับ หนอนรถด่วน เป็นอาหารที่นิยมและมีราคาแพง เกิดจากผีเสื้อกลางคืน ชนิดหนึ่งไปวางไข่อยู่บนหน่อไผ่ เมื่อฟักออกมาก็เจาะเข้าไปข้างในในช่วงที่หน่อไผ่ ก าลังยืดตัว โดยจะอาศัยและเติบโดอยู่ภายในปล้องไม้ไผ่ หนอนรถด่วน 100 กรัม มีโปรตีน 2.5 กรัมและกรดอะมิโนที่จ าเป็นต่อร่างกายอีก 8 ชนิด ส่วนแมลงทับนั้น ในระยะที่ฟักออกจากไข่เป็นตัวหนอน จะอาศัยอยู่ใต้ดินและแทะกินรากของไผ่ เพ็กอยู่นาน 2-3 เดือนกว่าจะโตเต็มวัย ไผ่ สร้างสมดุลให้กับสิ่งแวดล้อม และช่วยแก้ปัญหาภาวะโลกร้อน ในบรรดาพืชที่อยู่บนดินด้วยกัน ไผ่เป็นพืชที่มีอัตราการเจริญเติบโตสูงที่สุด จึงมีศักยภาพสูงใน การดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ และมีบทบาทส าคัญในการกักเก็บคาร์บอน ป่าโดยทั่วไปจะมีอัตราการ เจริญเติบโตด้านชีวมวลประมาณ 2-5% ต่อปี ในขณะที่ป่าไผ่อาจมีชีวมวลเพิ่มขึ้นถึง 30% ต่อปี นอกจากนี้ ไผ่ยังเป็นไม้เบิกน าที่สามารถขึ้นได้บนพื้นที่ว่างเปล่า จึงสามารถช่วยปรับปรุงสภาพของระบบ นิเวศน์ในบริเวณป่าเสื่อมโทรมได้ในระยะเวลาอันสั้น อีกทั้งระบบรากของไผ่ที่แผ่กว้างและสานกันเป็น ร่างแหหนาแน่น ท าให้ไผ่มีประสิทธิภาพสูงในการอนุรักษ์ดินและน้ า ช่วยป้องกันการชะล้างและการกัด เซาะพังทลายของหน้าดินได้ดี โดยเฉพาะบริเวณริมคลองหรือริมตลิ่ง และยังช่วยปรับปรุงคุณภาพของ ดินให้ดีขึ้น อันเป็นที่มาของชื่อ ดินขุยไผ่ นอกจากนี้ในพื้นที่เท่าๆ กัน ป่าไผ่ยังผลิตก๊าซออกซิเจนได้ มากกว่าป่าทั่วไปถึง 35% และอุ้มน้ าได้มากกว่าถึง 2 เท่า

ส านักวิจัยและพัฒนาการป่าไม้ กรมป่าไม้ www.forest.go.th

สำหรับความหมายอื่น ดูที่ ไผ่ (แก้ความกำกวม)

ไผ่ เป็นไม้พุ่มหลายชนิดและหลายสกุลใน วงศ์หญ้า (วงศ์ Poaceae; เดิมคือวงศ์ Gramineae) วงศ์ย่อย Bambusoideae เป็นไม้ไม่ผลัดใบใน ขึ้นเป็นกอ ลำต้นเป็นปล้องๆ เช่น ไผ่จีน (Arundinaria suberecta Munro) ไผ่ป่า (Bambusa arundinacea Willd.) ไผ่สีสุก (B. flexuosa Munro และ B. blumeana Schult.) ไผ่ไร่ (Gigantochloa albociliata Munro) ไผ่ดำ (Phyllostachys nigra Munro)

ผลผลิตจากไผ่ที่สำคัญคือ หน่อไม้ ซึ่งเป็นอาหารสำคัญของคนไทย นิยมทานกันมากในเกือบทุกภาคของประเทศไทย โดยเฉพาะภาคเหนือและอีสาน นอกจากนี้ไม้ไผ่ยังมีคุณสมบัติพิเศษทั้งด้านความแข็งแรงและยืดหยุ่นที่เหนือกว่าวัสดุสังเคราะห์หลายชนิด ดังนั้นจึงยังได้รับความนิยมในการทำเครื่องมือเครื่องใช้หลายประเภท ใช้ชะลอน้ำที่เข้าป่าชายเลน นั่งร้านก่อสร้างและบันได เป็นต้น

ไผ่

สกุล[แก้]

ไผ่ทั่วโลกมีอยู่ประมาณ 90 สกุล และ 1,000 ชนิด. ที่รู้จักกันแพร่หลาย ส่วนใหญ่จะอยู่ในสกุล ต่อไปนี้

  • Arundinaria

  • Bambusa

  • Chimonobambusa

  • Chusquea

  • Dendrocalamus

  • Drepanostachyum

  • Guadua angustifolia

  • Hibanobambusa

  • Indocalamus

  • Otatea

  • Phyllostachys

  • Pleioblastus

  • Pseudosasa

  • Sasa

  • Sasaella

  • Sasamorpha

  • Semiarundinaria

  • Shibataea

  • Sinarundinaria

  • Sinobambusa

  • Thamnocalamus

รายชื่อไผ่ของไทย[แก้]

ในประเทศไทยนั้น พบไผ่อยู่ 30 ชนิด ดังนี้[1]

ป่าไผ่ ในเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น

เผ่า:

เผ่าใหญ่:

วงศ์ย่อย:

วงศ์:

ชั้น:

อันดับ:

หมวด:

        • ใบไผ่