การพัฒนาครูโดยใช้ระบบการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง โรงเรียนเมืองกระบี่
(Muangkrabi School-Coaching and Mentoring System: MK-CMS)
7 เมษายน 2564
เวลา 13:30-14:00 น.
ปฏิบัติกิจกรรมการพัฒนาครูโดยใช้ระบบการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง โรงเรียนเมืองกระบี่ (Muangkrabi School-Coaching and Mentoring System: MK-CMS) วงจรที่ 3 การพัฒนาครูที่สอนในระดับชั้นเดียวกัน ในครั้งนี้คือ
Buddy A คุณครูเพ็ญพิสุทธิ์ สิทธิสร คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) สอนระดับชั้น ม.1 Buddy B คุณครูเนตรวารีย์ หนูสงค์ คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สอนระดับชั้น ม.1 ครูผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ คุณครูกษิดิศ ศรีหมุ่น ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ท่านรองสารพัฒน์ รัตนบุรานินท์ รอง ผอ.ร.ร. ผู้รับผิดชอบการพัฒนาครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ และ นายวสันต์ ปัญญา ผอ.ร.ร.เมืองกระบี่ เป็นการพัฒนาครูด้านการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) เป็นการพัฒนาวิชาชีพครูในขณะปฏิบัติหน้าที่สอน (On the job training) โดยไม่ทิ้งห้องเรียน และนักเรียนไม่ถูกทอดทิ้ง ภายใต้การบริหารจัดการโรงเรียนเมืองกระบี่ทั้งระบบเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Muangkrabi School-A Whole School Approach for Sustainable Development)
5 เมษายน 2564
กิจกรรมการพัฒนาครูโดยใช้ระบบการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) ของโรงเรียนเมืองกระบี่ MK-CMS) ขั้น SEE ซึ่งเป็นขั้นสะท้อนคิด ศึกษาผ่านบทเรียน(Lesson Study: LS) ร่วมกัน ปฏิบัติวงจรที่ 4 (การพัฒนาครูที่อยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน) ในช่วงบ่ายของวันที่ 5 เม.ย. 2564 ณ ห้องประชุมเล็ก อาคาร 3 เวลา 13.30-16.00 น. ตามลำดับดังนี้
เวลา 13.30-14.00 น. Buddy A คุณครูจิรัศยา เชื้อหอม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้น ม.1 พร้อมด้วย Buddy B คุณครูภุชงค์ เสือทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สอนชั้น ม.2 ครูผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ คุณครูสุจิรา ชุมแก้ว คุณครูภาษาไทย วิยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ท่านรองสารพัฒน์ รัตนบุรานินท์ รอง ผอ.ร.ร.ฝ่ายวิชาการ และ รักษาการในตำแหน่ง รอง ผอ.ร.ร.ฝ่ายกิจการนักเรียน นายวสันต์ ปัญญา ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองกระบี่
เวลา 14.00-14.30 น. Buddy A ชวิศา ไชยรัตน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้น ม. 3 Buddy B คุณครูโยสิตา หัสรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาเกาหลี) ครูผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ คุณครูพรรณี แออ้อย ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ท่านรองสารพัฒน์ รัตนบุรานินท์ รอง ผอ.ร.ร.ฝ่ายวิชาการ และ รักษาการในตำแหน่ง รอง ผอ.ร.ร.ฝ่ายกิจการนักเรียน ในฐานะผู้รับผิดชอบการพัฒนาครูในกลุ่่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ นายวสันต์ ปัญญา ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองกระบี่
เวลา 14.30-15.00 น. Buddy A คุณครูโยสิตา หัสรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาเกาหลี) Buddy B ชวิศา ไชยรัตน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้น ม. 3 ครูผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ คุณครูพรรณี แออ้อย ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ท่านรองสารพัฒน์ รัตนบุรานินท์ รอง ผอ.ร.ร.ฝ่ายวิชาการ และ รักษาการในตำแหน่ง รอง ผอ.ร.ร.ฝ่ายกิจการนักเรียน ในฐานะผู้รับผิดชอบการพัฒนาครูในกลุ่่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ นายวสันต์ ปัญญา ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองกระบี่
เวลา 15.00-15.30 น. Buddy A คุณครูการัณยภาส เสนาพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สอนชั้น ม.3 Buddy B คุณครูเนตรวารีย์ หนูสงค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ สอนชั้น ม.3 ครูผู้เชี่ยวชาญ ได้แก่ คุณครูชวิศา ไชยรัตน์ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ท่านรองสารพัฒน์ รัตนบุรานินท์ รอง ผอ.ร.ร.ฝ่ายวิชาการ และ รักษาการในตำแหน่ง รอง ผอ.ร.ร.ฝ่ายกิจการนักเรียน ในฐานะผู้รับผิดชอบการพัฒนาครูในระดับชั้น ม.3 นายวสันต์ ปัญญา ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองกระบี่
เวลา 15:30 - 16:00 น. Buddy A คุณครูอรอุมา รัตนพันธุ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สอนชั้น ม.1 Buddy B คุณครูธีรยุทธ สามารถ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สอนชั้น ม.2 ครูผู้เชี่ยวชาญ คุณครูชวิศา ไชยรัตน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ท่านรองศักติพันธ์ จันทร์เพชร รอง ผอ.ร.ร.ฝ่ายบริหารทั่วไป รอง ผอ.ร.ร.ผู้รับผิดชอบการพัฒนาครูที่สอนในระดับชั้น ม.1 นายวสันต์ ปัญญา ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองกระบี่ หลังจากนี้ โรงเรียนกำหนดกิจกรรม "วันดอกไม้บาน" (Symposium) ในวันที่ 29 เมษายน 2564 ภาคเช้า เวลา 08:30 - 12:00 น. กิจกรรมวันดอกไม้บานของครูที่สอนในระดับชั้นเดียวกัน
11 มีนาคม 2564
ขอขอบพระคุณท่าน ผอ.สุรพงษ์ สุขสง ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ร่วมกิจกรรมการพัฒนาครูโดยใช้ระบบการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง โรงเรียนเมืองกระบี่ (MK-CMS) ในครั้งนี้ กิจกรรมพัฒนาครูโดยระบบชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง Muangkrabi School-Coaching and Mentoring System:MK-CMS ขั้นPlan. ขั้นDo. ขั้นSEE
ขอขอบคุณท่านผู้อำนวยการ นายวสันต์ ปัญญา คู่บัดดี้ครูพรพิมล แกมวิรัตน์ และผู้เชี่ยวชาญครูลัดลาวัลย์ เอ่งฉ้วนสำหรับคำแนะนำที่ดีและมีประโยชน์
จะนำไปปรับใช้และพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ Active learning ต่อไป
12 มีนาคม 2564
กิจกรรมการพัฒนาครูโดยใช้ระบบการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง โรงเรียนเมืองกระบี่ (Muangkrabi School-Coaching and Mentoring System: MK-CMS) วงจรที่ 4 คู่ Buddy ที่สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน
Buddy A คุณครูมุสลีมะห์ สามะ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาศาสตร์ทั่วไป) สอนชั้น ม.3 คาบที่ 7 Buddy B คุณครูปิ่นเพชร แสวงสุข กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาศาสตร์ทั่วไป)
สอนชั้น ม.2 คุณครูกนก ศิริมี ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในฐานะครูผู้เชี่ยวชาญ คุณประทีป นวลวิจิตร ประธานเครือข่ายผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนเมืองกระบี่ รองสารพัฒน์ รัตนบุรานินท์ รอง ผอ.ร.ร. ในฐานะผู้รับผิดชอบการพัฒนาครูในระดับชั้น ม.3 และ ผอ.วสันต์ ปัญญา ผอ.ร.ร.เมืองกระบี่ ปฏิบัติกิจกรรมวงจรที่ 4 Plan Do See ขั้น Plan นำแผนการจัดการเรียนที่จัดทำขึ้น(Plan A) มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และศึกษาผ่านบทเรียน (Lesson Study: LS) ร่วมกัน แล้วนำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะไปปรับปรุงแผนฯ เกิดเป็น Plan B เพื่อนำไปใช้ในการสอนจริงในขั้น Do ขั้น Do เยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน ภายใต้กรอบ SIT MAP ขั้น See สะท้อนคิด หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมขั้น Do แล้ว เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาผ่านบทเรียน (LS) ร่วมกัน ครูนำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะไปปรับแรุง แก้ไขพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้นี้เกิดเป็น Plan C การขับเคลื่อนระบบ MK-CMS กำหนดให้ครูจับคู่ Buddy ปฏิบัติกิจกรรมตามวงจร LS1- LS4 ภายใน 1 ภาคเรียน โดย วงจร LS1 และ LS3 เป็นการจับคู่ปฏิบัติกิจกรรมของครูที่สังกัดต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้แต่สอนในระดับชั้นเดียวกัน ส่วน LS2 และ LS4 เป็นการจับคู่ปฏิบัติกิจกรรมของครูที่สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน การปฏิบ้ติกิจกรรมตามวงจรดังกล่าว เป็นการพัฒนาครูขณะแฏิบัติหน้าที่สอน (On the Job Training) ไม่ดึงครูออกจากห้องเรียนและไม่ทิ้งลูกๆ นักเรียนไว้ข้างหลัง ประหยัดทรัพยากร จึงร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาผ่านบทเรียน (LS) ร่วมกัน เกิดเป็นชุมชนแห่งการเรียยรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) โดยอัตโนมัติ และเมื่อโรงเรียนบริหารจัดการทั้งระบบเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Muangkrabi School Model-A Whole School Approach for Sustainable Development) โดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ภายใต้วิสัยทัศน์โรงเรียนในฐานะที่เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community: SLC) โรงเรียนเมืองกระบี่จึงเป็น SLC
12 มีนาคม 2564
กิจกรรมการพัฒนาครูโดยใช้ระบบการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง โรงเรียนเมืองกระบี่ (Muangkrabi School-Coaching and Mentoring System: MK-CMS) วงจรที่ 4 คู่ Buddy ที่สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน
Buddy A คุณครูนภาพร วิทยพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาจีน) สอนชั้น ม.1-6 คาบที่ไปเยี่ยมชั้นเรียน สอน ม.4)
Buddy B คุณครูจุฑามาศ พิพัฒนไมตรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาจีน) สอนชั้น ม.1-6
คุณครูพรรณี แออ้อย ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ในฐานะครูผู้เชี่ยวชาญและ ผอ.วสันต์ ปัญญา ผอ.ร.ร.เมืองกระบี่ปฏิบัติกิจกรรมวงจรที่ 4 Plan Do See
ขั้น Plan
นำแผนการจัดการเรียนที่จัดทำขึ้น(Plan A) มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และศึกษาผ่านบทเรียน (Lesson Study: LS) ร่วมกัน แล้วนำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะไปปรับปรุงแผนฯ เกิดเป็น Plan B เพื่อนำไปใช้ในการสอนจริงในขั้น Do
เยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน ภายใต้กรอบ SIT MAP
ขั้น See
สะท้อนคิด หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมขั้น Do แล้ว เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาผ่านบทเรียน (LS) ร่วมกัน ครูนำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะไปปรับแรุง แก้ไขพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้นี้เกิดเป็น Plan C
การขับเคลื่อนระบบ MK-CMS กำหนดให้ครูจับคู่ Buddy ปฏิบัติกิจกรรมตามวงจร LS1- LS4 ภายใน 1 ภาคเรียน โดย วงจร LS1 และ LS3 เป็นการจับคู่ปฏิบัติกิจกรรมของครูที่สังกัดต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้แต่สอนในระดับชั้นเดียวกัน ส่วน LS2 และ LS4 เป็นการจับคู่ปฏิบัติกิจกรรมของครูที่สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน
การปฏิบ้ติกิจกรรมตามวงจรดังกล่าว เป็นการพัฒนาครูขณะแฏิบัติหน้าที่สอน (On the Job Training) ไม่ดึงครูออกจากห้องเรียนและไม่ทิ้งลูกๆ นักเรียนไว้ข้างหลัง ประหยัดทรัพยากร จึงร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาผ่านบทเรียน (LS) ร่วมกัน เกิดเป็นชุมชนแห่งการเรียยรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) โดยอัตโนมัติ
และเมื่อโรงเรียนบริหารจัดการทั้งระบบเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Muangkrabi School Model-A Whole School Approach for Sustainable Development) โดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ภายใต้วิสัยทัศน์โรงเรียนในฐานะที่เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community: SLC) โรงเรียนเมืองกระบี่จึงเป็น SLC
12 มีนาคม 2564
กิจกรรมการพัฒนาครูโดยใช้ระบบการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง โรงเรียนเมืองกระบี่ (Muangkrabi School-Coaching and Mentoring System: MK-CMS) วงจรที่ 4 คู่ Buddy ที่สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน
Buddy A คุณครูโยษิตา หัสหรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาเกาหลี) สอนชั้น ม.5
Buddy B คุณครูชวิศา ชัยรัตน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) สอนชั้น ม.3
คุณครูพรรณี แออ้อย ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ในฐานะครูผู้เชี่ยวชาญ รองวนัชพร วัชรเฉลิม รอง ผอ ร.ร.ฝ่ายงบประมาณ ในฐานะ รอง ผอ ร.ร.ที่รับผิดชอบการพัฒนาครูในกลุ่มสาระฯ ภาษาต่างประเทศ และครูในระดับชั้น ม.5 รองสารพัฒน์ รัตนบุรานินท์ รอง ผอ.ร.ร.ฝ่ายวิชาการ และ รก.รอง ผอ.ร.ร.ฝ่ายกิจการ น.ร. และ ผอ.วสันต์ ปัญญา ผอ.ร.ร.เมืองกระบี่ ปฏิบัติกิจกรรมวงจรที่ 4 Plan Do See
ขั้น Plan
นำแผนการจัดการเรียนที่จัดทำขึ้น(Plan A) มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และศึกษาผ่านบทเรียน (Lesson Study: LS) ร่วมกัน แล้วนำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะไปปรับปรุงแผนฯ เกิดเป็น Plan B เพื่อนำไปใช้ในการสอนจริงในขั้น Do
ขั้น Do
เยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน ภายใต้กรอบ SIT MAP
ขั้น See
สะท้อนคิด หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมขั้น Do แล้ว เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาผ่านบทเรียน (LS) ร่วมกัน ครูนำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะไปปรับแรุง แก้ไขพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้นี้เกิดเป็น Plan C
การขับเคลื่อนระบบ MK-CMS กำหนดให้ครูจับคู่ Buddy ปฏิบัติกิจกรรมตามวงจร LS1- LS4 ภายใน 1 ภาคเรียน โดย วงจร LS1 และ LS3 เป็นการจับคู่ปฏิบัติกิจกรรมของครูที่สังกัดต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้แต่สอนในระดับชั้นเดียวกัน ส่วน LS2 และ LS4 เป็นการจับคู่ปฏิบัติกิจกรรมของครูที่สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน
การปฏิบ้ติกิจกรรมตามวงจรดังกล่าว เป็นการพัฒนาครูขณะแฏิบัติหน้าที่สอน (On the Job Training) ไม่ดึงครูออกจากห้องเรียนและไม่ทิ้งลูกๆ นักเรียนไว้ข้างหลัง ประหยัดทรัพยากร จึงร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาผ่านบทเรียน (LS) ร่วมกัน เกิดเป็นชุมชนแห่งการเรียยรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) โดยอัตโนมัติ
และเมื่อโรงเรียนบริหารจัดการทั้งระบบเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Muangkrabi School Model-A Whole School Approach for Sustainable Development) โดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ภายใต้วิสัยทัศน์โรงเรียนในฐานะที่เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community: SLC) โรงเรียนเมืองกระบี่จึงเป็น SLC
12 มีนาคม 2564
กิจกรรมการพัฒนาครูโดยใช้ระบบการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง โรงเรียนเมืองกระบี่ (Muangkrabi School-Coaching and Mentoring System: MK-CMS) วงจรที่ 4 คู่ Buddy ที่สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน
Buddy A คุณครูศดานันท์ แก้วศรี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอนชั้น ม.5 Buddy B คุณครูอาทิตยา ร่วมชมรัตน์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สอนชั้น ม.5 คุณครูธนาวดี สุวรรณรัตน์ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในฐานะครูผู้เชี่ยวชาญ รองวนัชพร วัชรเฉลิม รอง ผอ ร.ร.ฝ่ายงบประมาณ ในฐานะรอง ผอ ร.ร.ที่รับผิดชอบการพัฒนาครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทย์/เทคโน และระดับชั่น ม.5
รองสารพัฒน์ รัตนบุรานินท์ รอง ผอ.ร.ร.ฝ่ายวิชาการ และ รก.รอง ผอ.ร.ร.ฝ่ายกิจการ น.ร. ปฏิบัติกิจกรรมวงจรที่ 4 Plan Do See
ขั้น Plan
นำแผนการจัดการเรียนที่จัดทำขึ้น(Plan A) มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และศึกษาผ่านบทเรียน (Lesson Study: LS) ร่วมกัน แล้วนำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะไปปรับปรุงแผนฯ เกิดเป็น Plan B เพื่อนำไปใช้ในการสอนจริงในขั้น Do
ขั้น Do
เยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน ภายใต้กรอบ SIT MAP
ขั้น See
สะท้อนคิด หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมขั้น Do แล้ว เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาผ่านบทเรียน (LS) ร่วมกัน ครูนำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะไปปรับแรุง แก้ไขพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้นี้เกิดเป็น Plan C
การขับเคลื่อนระบบ MK-CMS กำหนดให้ครูจับคู่ Buddy ปฏิบัติกิจกรรมตามวงจร LS1- LS4 ภายใน 1 ภาคเรียน โดย วงจร LS1 และ LS3 เป็นการจับคู่ปฏิบัติกิจกรรมของครูที่สังกัดต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้แต่สอนในระดับชั้นเดียวกัน ส่วน LS2 และ LS4 เป็นการจับคู่ปฏิบัติกิจกรรมของครูที่สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน การปฏิบ้ติกิจกรรมตามวงจรดังกล่าว เป็นการพัฒนาครูขณะแฏิบัติหน้าที่สอน (On the Job Training) ไม่ดึงครูออกจากห้องเรียนและไม่ทิ้งลูกๆ นักเรียนไว้ข้างหลัง ประหยัดทรัพยากร จึงร่วมกันปฏิบัติกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาผ่านบทเรียน (LS) ร่วมกัน เกิดเป็นชุมชนแห่งการเรียยรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) โดยอัตโนมัติ และเมื่อโรงเรียนบริหารจัดการทั้งระบบเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Muangkrabi School Model-A Whole School Approach for Sustainable Development) โดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ภายใต้วิสัยทัศน์โรงเรียนในฐานะที่เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community: SLC) โรงเรียนเมืองกระบี่จึงเป็น SLC
11 มีนาคม 2564
กิจกรรมการพัฒนาครูโดยใช้ระบบการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง โรงเรียนเมืองกระบี่ (Muangkrabi School-Coaching and Mentoring System: MK-CMS) วงจรที่ 4 คู่ Buddy ที่สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน Buddy A คุณครูยาใจ ลักษณะอัฐ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สอนชั้น ม.2 Buddy B คุณครูเจตริน หมาดปูเต๊ะ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สอนชั้น ม.2 คุณครูลัดดาวัลย์ เอ่งฉ้วน ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในฐานะครูผู้เชี่ยวชาญ และ ผอ.วสันต์ ปัญญา ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองกระบี่
ปฏิบัติกิจกรรมวงจรที่ 4 Plan Do See
ขั้น Plan
นำแผนการจัดการเรียนที่จัดทำขึ้น(Plan A) มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และศึกษาผ่านบทเรียน (Lesson Study: LS) ร่วมกัน แล้วนำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะไปปรับปรุงแผนฯ เกิดเป็น Plan B เพื่อนำไปใช้ในการสอนจริงในขั้น Do
ขั้น Do
เยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน ภายใต้กรอบ SIT MAP
ขั้น See
สะท้อนคิด หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมขั้น Do แล้ว เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาผ่านบทเรียน (LS) ร่วมกัน ครูนำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะไปปรับแรุง แก้ไขพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้นี้เกิดเป็น Plan C การขับเคลื่อนระบบ MK-CMS กำหนดให้ครูจับคู่ Buddy ปฏิบัติกิจกรรมตามวงจร LS1- LS4 ภายใน 1 ภาคเรียน โดย วงจร LS1 และ LS3 เป็นการจับคู่ปฏิบัติกิจกรรมของครูที่สังกัดต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้แต่สอนในระดับชั้นเดียวกัน ส่วน LS2 และ LS4 เป็นการจับคู่ปฏิบัติกิจกรรมของครูที่สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน
การปฏิบ้ติกิจกรรมตามวงจรดังกล่าว เป็นกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาผ่านบทเรียน (LS) ร่วมกัน เกิดเป็นชุมชนแห่งการเรียยรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) โดยอัตโนมัติ
และเมื่อโรงเรียนบริหารจัดการทั้งระบบเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Muangkrabi School Model-A Whole School Approach for Sustainable Development) โดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ภายใต้วิสัยทัศน์โรงเรียนในฐานะที่เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community: SLC) โรงเรียนเมืองกระบี่จึงเป็น SLC
10 มีนาคม 2564
กิจกรรมการพัฒนาครูโดยใช้ระบบการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง โรงเรียนเมืองกระบี่ (Muangkrabi School-Coaching and Mentoring System: MK-CMS) วงจรที่ 3 คู่ Buddy ที่สังกัดต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้กันแต่สอนในระดับชั้นเดียวกัน Buddy A คุณครูวนิดา หนกหลัง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สอนชั้น ม.5 Buddy B คุณครูเสริมศักดิ์ คำคง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สอนชั้น ม.5 คุณครูธรรมนูญ อ่อนเนียม ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯ ในฐานะครูผู้เชี่ยวชาญ ท่านรองวนัชพร วัชรเฉลิม รองผู้อำนวยการโรงเรียน ฝ่ายงบประมาณ ในฐานะผู้รับผิดชอบการพัฒนาครูในระดับชั้น ม.5 และ ผอ.วสันต์ ปัญญา ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองกระบี่ ปฏิบัติกิจกรรมวงจรที่ 3 Plan Do See
ขั้น Plan
นำแผนการจัดการเรียนที่จัดทำขึ้น(Plan A) มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และศึกษาผ่านบทเรียน (Lesson Study: LS) ร่วมกัน แล้วนำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะไปปรับปรุงแผนฯ เกิดเป็น Plan B เพื่อนำไปใช้ในการสอนจริงในขั้น Do
ขั้น Do
เยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน ภายใต้กรอบ SIT MAP
ขั้น See
สะท้อนคิด หลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมขั้น Do แล้ว เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาผ่านบทเรียน (LS) ร่วมกัน ครูนำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะไปปรับแรุง แก้ไขพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้นี้เกิดเป็น Plan C การขับเคลื่อนระบบ MK-CMS กำหนดให้ครูจับคู่ Buddy ปฏิบัติกิจกรรมตามวงจร LS1- LS4 ภายใน 1 ภาคเรียน โดย วงจร LS1 และ LS3 เป็นการจับคู่ปฏิบัติกิจกรรมของครูที่สังกัดต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้แต่สอนในระดับชั้นเดียวกัน ส่วน LS2 และ LS4 เป็นการจับคู่ปฏิบัติกิจกรรมของครูที่สังกัดกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน การปฏิบ้ติกิจกรรมตามวงจรดังกล่าว เป็นกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาผ่านบทเรียน (LS) ร่วมกัน เกิดเป็นชุมชนแห่งการเรียยรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) โดยอัตโนมัติ และเมื่อโรงเรียนบริหารจัดการทั้งระบบเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Muangkrabi School Model-A Whole School Approach for Sustainable Development) โดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) ภายใต้วิสัยทัศน์โรงเรียนในฐานะที่เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community: SLC) ส่งผลให้โรงเรียนเมืองกระบี่เป็น SLC
8 มีนาคม 2564
กิจกรรมการพัฒนาครูโดยใช้ระบบการชี้แนะและการเป็นพี่เลี้ยง โรงเรียนเมืองกระบี่ (Muangkrabi School-Coaching and Mentoring System: MK-CMS) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 LS กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาผ่านบทเรียน (Lesson Study) ร่วมกัน อันเป็นกระบวนการ PLC เกิดเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community) โดยอัตโนมัติ โรงเรียนบริหารจัดการทั้งระบบเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (A Whole School Approach for Sustainable Development) น้อมนำยุทธศาตร์พระราชทาน "เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา" และหลักทรงงานทั้ง 23 ข้อของพ่อหลวงรัชกาลที่ ๙ มาใช้ในการพัฒนาครูโดยใช้ MK-CMS ให้ครูระเบิดจากข้างใน พร้อมยอมรับการเปลี่ยนแปลงตนเอง และร่วมกันเปลี่ยนแปลงองค์กร ส่งต่อคุณภาพสู่ลูก ๆ นักเรียน โดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน เป็นการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development: SD) ตามคำพ่อสอน โรงเรียนเมืองกระบี่จึงเป็น SLC โรงเรียนในฐานะที่เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ (School as Learning Community) ในภาพเป็นการปฏิบัติกิจกรรม MK-CMS ในวงจรที่ 4 (คู่ Buddy ที่อยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกัน) ประกอบด้วย Buddy A คุณครูอัสลีนา ตวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้น ม.3 Buddy B คุณครูอริศรา สะไบงาม กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้น ม.3 คุณครูฐาปนี พูลศิริ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ เป็นครูผู้เชี่ยวชาญ ท่านรองฯ สารพัฒน์ รัตนบุรานินท์ รองผู้อำนวยการโรงเรียน รับผิดชอบระดับชั้น ม.3 ท่านรองฯ วนัชพร วัชรเฉลิม รองผู้อำนวยการโรงเรียน รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ คุณครูนิจพร นิจพรพงศ์ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ หัวหน้างานนิเทศภายใน ฝ่ายวิชาการ ผอ.วสันต์ ปัญญา ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองกระบี่ ก่อนหน้านี้มีการปฏิบัติกิจกรรมในขั้น Plan วางแผนการจัดการเรียนรู้ร่วมกันมาแล้ว วันนี้เป็นการปฏิบัติกิจกรรมในขั้น Do เยี่ยมชั้นเรียนและสังเกตการสอน ภายใต้กรอบ SIT MAP ต่อด้วยกิจกรรมขั้น See สะท้อนคิด แลกเปลี่ยนเรียนรู้และศึกษาผ่านบทเรียนร่วมกัน...กิจกรรมต่อจากนี้ไปคือ เข้าร่วมกิจกรรมวันดอกไม้บาน (Symposium) ต่อไป