ผู้จัดทำข้อตกลง

นางสาวสุพิศ  ศรีบัว

ตำแหน่ง  ครูชำนาญการพิเศษ 

สถานศึกษา โรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4  

สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง

ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด 

ชั่วโมงสอนตามตารางสอน จำนวน 24 ชั่วโมง/สัปดาห์ 

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาการงานอาชีพ 

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 จำนวน  8 ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาการขยายพันธ์ุพืช

 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน  2 ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาการงานอาชีพ 

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน  4 ชั่วโมง/สัปดาห์

 กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4   จำนวน  4 ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาเทคโนโลยีการเกษตร 

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5   จำนวน  2 ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาจริยธรรม    จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาลูกเสือ-เนตรนารีจำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห

####################################################

คำสั่งโรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4 ปีการศึกษา 2566

####################################################

งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
จำนวน  6 ชั่วโมง/สัปดาห์

- การจัดทำแผนการเรียนรู้/การสร้างสื่อ/การสร้าง
    เครื่องมือประเมินผล/วิจัยชั้นเรียน                                  จำนวน 2  ชั่วโมง/สัปดาห์

- งานที่ปรึกษาและระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน      

             จำนวน  1  ชั่วโมง/สัปดาห์

- การมีส่วนร่วมในชุมชนแห่งการเรียนรู้          

              จำนวน  3  ชั่วโมง/สัปดาห์


####################################################

คำสั่งโรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4 ปีการศึกษา 2566

####################################################

งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

ด้านการจัดการเรียนรู้ 

ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ 

ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย

ประเด็นท้าทาย
       เรื่อง
 การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การปลูกกัญชงเพื่อเสริมสร้างทักษะอาชีพ สำหรับนักเรียน ชั้นประถมมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4


1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน

ในการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านมา  นักเรียนยังขาดทักษะที่สำคัญ  เช่น  ทักษะการคิด ทักษะชีวิต  และทักษะอาชีพ เป็นต้น ซึ่งทักษะต่างๆเหล่านี้จะช่วยพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project Base Learning) จึงเป็นเทคนิควิธีการจัดกิจกรรม การ เรียนรู้อีกแบบหนึ่งที่เน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง  โดยฝึกให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง เพื่อพัฒนาความรู้ทักษะและสร้าง ผลผลิตที่มีคุณภาพ มีการดำเนินการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ โดยอาศัยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ผู้เรียน รู้จัก สังเกต รู้จักตั้งคำถาม รู้จักตั้งสมมติฐาน รู้จักวิธีการแสวงหาความรู้และสรุปได้ด้วยตนเองเพื่อตอบคำถามที่ตนอยากรู้ และทำความเข้าใจกับสิ่งที่ค้นพบด้วยตนเอง  การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project Base Learning) เป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ตามความสนใจ ให้นักเรียนได้เรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ ขยายความรู้พื้นฐาน ไปสู่ความรู้ใหม่และนำไปใช้ได้จริง  สามารถนำความรู้  ทักษะในการทำงาน  และทักษะอาชีพที่ได้รับการฝึกฝนไป ประกอบอาชีพ  หรือพัฒนาต่อไปเป็นผู้ประกอบการได้  จึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญต่อการพัฒนาผู้เรียน และกำลัง แรงงาน ที่มีทักษะและคุณลักษณะที่พร้อมสู่ตลาดอาชีพ



2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล

                    2.1 วิเคราะห์ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2561) และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4  ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2563

             2.2 ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา การงานอาชีพ  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยการ วิเคราะห์เนื้อหาและกำหนดเนื้อหา  เพื่อความเหมาะสมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project Base Learning)

                2.3 เขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชา การงานอาชีพ  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยเน้น แบบโครงงานเป็นฐาน (Project Base Learning) ที่ให้ผู้เรียนได้ค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเอง  แผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้นั้นรองรับสภาพการจัดการเรียนรู้ทั้งในสถานการณ์ปกติ และสถานการณ์ที่มีข้อจำกัด เช่น สถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งต้องจัดการเรียนการสอนผ่านระบบ อินเตอร์เน็ต ด้วยแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ

                2.4 สร้างสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning

โดยเป็นสื่อที่ทำให้นักเรียนสามารถค้นพบองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง

                2.5 ประเมินผลสัมฤทธิ์ ในรายวิชา การงานอาชีพ  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  โดยใช้แบบ ทดสอบก่อนเรียน

               2.6 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ข้างต้น โดยมีผู้บริหารหัวหน้า กลุ่มสาระ หรือครู ในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ร่วมสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน และสะท้อน ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น เพื่อนำผลไปใช้ในการปรับปรุงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้

                2.7 ประเมินผลสัมฤทธิ์หลังเรียน ในรายวิชา การงานอาชีพ  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

               2.8 ปรับปรุงหรือพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และสื่อการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ

มากขึ้นตามผลการสะท้อนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และผลการประเมินผลสัมฤทธิ์หลังเรียน

 


3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง 

เชิงปริมาณ 

  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การงานอาชีพ  ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5  โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน (Project Base Learning) ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (ร้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม) คิดเป็นร้อยละ 80 ขึ้นไปจากจำนวนนักเรียนทั้งหมด

      นักเรียนมีโครงงานที่เกิดจากการแก้ปัญหาในการจัดการเรียนรู้  พัฒนาทักษะอาชีพ  สามารถพัฒนา ต่อยอดเป็นผู้ประกอบการได้

 ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่   โรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4 จำนวน 120 คน ที่เรียนในรายวิชาการงานอาชีพ มีโครงงานอาชีพ  อย่างน้อย 6 โครงงาน


เชิงคุณภาพ 

นักเรียนมีทักษะอาชีพที่เกิดจากการแก้ปัญหา  โดยสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และนำองค์ความรู้ที่ ได้มาใช้แก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันพัฒนาทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา  จนสามารถเกิดเป็นโครงงานโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน(ProjectBase-Learning) และให้ นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาการงานอาชีพชั้นประถมศึกษาปีที่ 5   และในระหว่างการ พัฒนาครูผู้สอนนำปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้บริหาร ครูผู้สอนต่างกลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อที่ จะหาแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้


คลิปวิดีโอการจัดการเรียนรู้

ขอขอบคุณที่ปรึกษาในการพัฒนาเว็บไซต์ PA Online

ดร.ศิรภัสสร ชุมภูเทพ

-ตำแหน่งผู้อำนวยการ

-วิทยฐานะ ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ

-ผู้อำนวยการโรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4
- สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2
 

นายณฐวรรฏ เพียงสุวรรณ์

- ตำแหน่ง  รองผู้อำนวยการ
- วิทยฐานะ รองผู้อำนวยการชำนาญการ
-รองผู้อำนวยการโรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4
- สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 

นางสาวสุพัฒนา       ทวีเดช

- ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการ
- วิทยฐานะ รองผู้อำนวยการชำนาญการ
-รองผู้อำนวยการโรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4
- สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 

นางสาวนีรชา    ทับประดิษฐ์

- ตำแหน่ง รองผู้อำนวยการ
- วิทยฐานะ รองผู้อำนวยการชำนาญการ
-รองผู้อำนวยการโรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4
- สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 

งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
จำนวน  10 ชั่วโมง/สัปดาห์ 

-หัวหน้าฝ่ายบุคคล       

            จำนวน   6  ชั่วโมง/สัปดาห์

-หัวหน้าสายชั้นประถมศึกษาปีที่ 5   

            จำนวน   6  ชั่วโมง/สัปดาห์

-หัวหน้าประจำอาคาร ป.4-ป.6

    จำนวน  6 ชั่วโมง/สัปดาห์

-หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ 

            จำนวน   6  ชั่วโมง/สัปดาห์

-คณะกรรมการบริหารงานหลักสูตร

            จำนวน  4  ชั่วโมง/สัปดาห์

-ครูผู้ดูแลเด็กพิเศษเรียนร่วม           

            จำนวน  2  ชั่วโมง/สัปดาห์

- งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน         

            จำนวน  2  ชั่วโมง/สัปดาห์

- ครูเวรประจำวันจันทร์                     

            จำนวน  2  ชั่วโมง/สัปดาห์

-คณะกรรมการที่ปรึกษา 

    จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์

-งานวงดนตรีลูกทุ่งและวงดนตรีสากล

    จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์


งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น                 

-โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระ   

 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

-โครงการรักษ์กัญชง รักษ์ภูมิปัญญา

      จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

-ฐานการเรียนรู้ ศูนย์ฝึกอาชีพเยาวชน อิงดอยป่าไม้คาเฟ่       จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

-ฐานการเรียนรู้ไก่ไข่อารมณ์ดี

      จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

-ฐานการเรียนรู้ศูนย์วัฒนธรรมศึกษาอิงดอยป่าไม้ช็อป

      จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

-ฐานสวนพฤกษศาสตร์

      จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

-งานประสานงานศิษย์เก่าและบุคคลากร

      จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

-โครงการพิเศษ กลุ่มงานนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพและโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น

      จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

-งานกองทุน ผอ.ศักดิ์ดนัย พฤกษ์เจริญ เพื่อเงินยืมสำหรับการศึกษาโรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4

      จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

-งานเฝ้าระวังตรวจคุณภาพร้านค้าในโรงเรียน

      จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

####################################################
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการและเจ้าหน้าที่งานตามสายงานบริหารราชการโรงเรียน ประจําปีการศึกษา 2566

####################################################