ประวัติความเป็นมา

แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นมนุษย์สร้างขึ้น

       แหล่งเรียนรู้ประเภททรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรที่มนุษย สร้างขึ้น หมายถึง ทรัพยากรหรือสิ่งที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ หรือทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ทรัพยากรป่าไม้ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรแร่ธาตุ ทรัพยากรสัตว์ เขื่อน อ่างเก็บ น้า ฝ่ายชลประทาน คลอง อุทยานแห่งชาติ ศูนย์อนุรักษ์และคุ้มครองสัตว์ป่า เป็นต้น 

แหล่งการเรียนรู้

       พิพิธภัณฑสถานจังหวัดกำแพงเพชร เฉลิมพระเกียรติ เป็นอาคารพิพิธภัณฑ์ที่มีรูปแบบเป็นเรียนไทยหมู่แบบเรือนไทยภาคกลาง

สร้างด้วยไม้สักทอง บนเนื้อที่ ๒๕ ไร่ ๕๙ ตารางวา ด้วยงบประมาเแก่ยสร้างทั้งสิ้น ๖๑,๐๒๕,๕๖๓ บาท มีส่วนการจัดแสดงให้ข้อมูล

๒ภาษา คือ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยแบ่งการจัดแสดงออกเป็น ๔ ส่วน ได้แก่

       ๑. ส่วนประวัติศาสตร์เมือง จัดเสดงข้อมูลภาพ หุ่นจำสอง และวิดิทัศน์แสดงเรื่องราวเกี่ยวกับลักษณะทางภูมิศาสตร์ ธรณีวิทยา

ธรรมชาติวิทยา ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของเมืองกำแพงเพชร

       ๒. ส่วนชาติพันธุ์วิทยา จัตแสดงข้อมูสภาหหุ่นจำลองและคอมพิวเตอร์สัมผัสจอภาพ (Ccrnpuler Touch Screen) ให้ช้อมูล

เกี่ยวกับชนกลุ่มน้อยที่ตั้งถิ่นฐานในจังหวัดกำแพงพชร ได้แก่ กลุ่มชนม้ง เย้า กะเหรี่ยง ลีชู นอกจากนี้ ยังนำเสนอชัอมูลเรื่องราวเกี่ยวกับชนพื้นถิ่นในกำแพงเพชร ประเพนี และการดำเนินชีวิตของผู้คน

      ๓. ส่วนมรดกดีเด่นเมืองกำแพงเพชร จัดแสดงมรดกเด่นของจังหวัดกำแพงเพชร ทั้งทางต้นธรรมชาติวิทยา ทรัพยากรธรรมชาติ

ศิลปวัฒนธรรมของจังหวัดกำแพงเพชร

       ๔. ห้องบรรยาย เป็นห้องที่ใช้สำหรับกิจกรรมการบรรยาย การประชุมของพิพิธภัณฑ์ในห้องจัดแสตงผลงานศิลปหัตถกรรมชิ้นเยี่ยมของราวจังหวัดกำแพงเพชร และจัดฉายวีดิทัศน์เรื่องราวเกี่ยวกับจังหวัดกำแพงเพชร

       นอกจากนี้ จังหวัดกำแห่งเพชร งมีชื่อเสียงในฐานะเป็น เมืองกล้วยไข่ ซึ่งเป็นมรดกทางธรรมชาติที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะเมือง

กำแพงเทชร และเพื่อสนองแนวพระราชดำริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ให้อนุรักษ์สายพันธุ์กล้วย

พิพิธภัณตสถานจังหวัดกำแพงเพชร เฉลิมพระเกียรติ จึงได้รวบรวมกล้วยสายพันธุ์ต่าง ๆ ทั้งกล้วยประดับ กล้วยบริโภค และกลัวยอนุรักษ์

มากกว่า ๑๕๐ สายพันธุ์ ซึ่งจัดเป็นศูนย์รวมสายพันธุ์กล้วยมากที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศไทย

       ด้วยพระเมตตาของสมเด็จพระญาณสังวร สมด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ทรงประทานทุนในส่วนมูลนิธิปริยัติศึกษา ญสส.

ในพระสังฆราชูปถัมภ์สำหรับเป็นงบบระมาณในการจัดสร้างพิพิธภัณฑสถานจังหวัดกำเพงเพชร เฉลิมพระเกียรติแห่งนี้ขึ้น

   พิพิธภัณฑสถานจังหวัดกำแพงเพชร เฉลิมพระเกียร จึงเป็นความภาคภูมิใจของชาวกำแหงเพชร ที่รวบรวมโบราณวัตถุ เเละศิลปหัตกรรม อันแสดถึงภูมิปัญญาของบรรพชนในท้องถิ่นที่มุ่งเน้นข้อมูลเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา ค้นหว้า และการอนุรักษ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสถาปัตยกรรม ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ตลอดจนเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดกำแพงเพชรสืบไป

ประเภทของแหล่งการเรียนรู้

             จากการศึกษาค้นคว้าเอกสารพบว่าได้มีผู้แบ่งกลุ่มหรือประเภทแหล่งการเรียนรู้ไว้หลายลักษณะ 

(เกษม คำบุตดา) ได้จำแนกแหล่งการเรียนรู้ออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้

1. แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นบุคคล เช่น ครู เพื่อในห้องเรียน เพื่อนต่างห้องเรียน เพื่อต่างระดับ บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง คนในชุมชน เป็นต้น

2. แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นแหล่งวิชาการ ได้แก่ สถานที่ต่างๆ ภายในโรงเรียนและชุมชน เช่น ห้องสมุด วัด ตลาด ร้านค้า สถานีตำรวจ สถานีอนามัย โบราณสถาน สวนสัตว์ เป็นต้น

3. แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นแหล่งธรรมชาติ ได้แก่ ห้วย หนอง คลอง สวนสาธารณะ ป่า ต้นไม้ ธรรมชาติ ได้แก่ ห้วย หนอง คลอง สวนสาธารณะ ป่า ต้นไม้ ใบไม้ อุทยานธรรมชาติ รวมทั้งสัตว์ต่างๆ เช่น สัตว์เลี้ยง สัตว์ป่า

4. แหล่งการเรียนรู้ที่เป็นสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีต่างๆ เช่น หนังสือ ตำรา นิตยสาร วารสาร สิ่งพิมพ์ หนังสือพิมพ์ แผ่นปลิว ป้ายโฆษณาต่างๆ รายการวิทยุ รายการโทรทัศน์ เสียงตามสาย เกมคอมพิวเตอร์ และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่างๆ เป็นต้น


ประวัติความเป็นมา

       จังหวัดกำแพงเพชร เป็นจังหวัดที่มีประวัติความเป็นมายาวนาน ดังหลักฐานที่ปรากฎในสมัยก่อนประวัติศาสตร์หรือในยุคหินใหม่ซึ่งมี

อายุกว่า ๒,๐๐๐ ปี และมีพัฒนาการต่อมาในสมัยทวาราวดี สมัยสุโขทัย จนถึงสมัยอยุธยา จึงทำให้จังหวัดกำแพงเพชร มีประวัติความเป็นมา

อันยาวนานและอุดมไปด้วยมรดกทางวัฒนธรรมต่าง ๆ ทั้ง โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ ตลอดจนประวัติศาสตภูมิหลังของบ้านเมือง

สังคม จารีตประเพณีของผู้คน และเรื่องราวหลักฐานทางศิลปะ โบราณคดี อันเป็นเสนห์และเอกลักษณ์ประจำท้องถิ่น

เมื่อเวลาและสถานการณ์ต่าง ๆ เปลี่ยนแปลงไป โบราณสถาน โบราณวัตถุ รวมถึงจารีตขนบรรรมเนียมประเพณี อันเป็นมรดกทาง

วัฒนธรรมที่ถ่ายทอดกันมาส่วนหนึ่งได้ถูกทำลายลง หรือถูกแทรกแซงด้วยกระแสวัฒนธรรมส่วนกลาง และวัฒนธรรมตะวันตกที่เข้ามา

พร้อมกับการพัฒนาทางเทคโนโลยี ซึ่งหากไม่ช่วยอนุรักษ์สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ไว้แล้ว มรดกทางวัฒนธรรมต่าง ๆ ในท้องถิ่นอาจจะสูญสิ้นไป

       ด้วยเหตุผลดังกล่าว มูลนิปริยัศึกษา ญสส. ในพระสังฆราชปถัมก็ สมเด็จพระญาณสังวร สมด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก โดยพระโสภณคณาภรณ์ (สมจิตต์ ภิจิตโต) วัดบวรนิเวศริหาร์ เมื่อครั้งยังเป็นพระเปรียญ และนายวัลภ เจียรวนนท์ กรรมการบริหาร

เครือเจริญโภคภัณฑ์ และจังหวัดกำแพงเพชร โดยนายศิวะ แสงมณี ผู้ว่าราชการจังหวัดกำแพงเพธร ได้มีมติร่วมกันจัดทำโครงการ

เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดลยเดช เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายเนื่องในวโรกาสทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี

ในวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๔ โดยเลือกทำโครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติประจำเมืองขึ้นตามแนวพระราชดำริของ

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

       สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงพระกรุณาเสด็จฯ ทรงประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ การก่อสร้างอาคาร

พิพิธภัณฑ์ เมื่อวันที่ ๒๖ มิถุนายน พ ศ. ๒๕๓๘

       พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าพระราชทานชื่อพิพิภัณฑ์แห่งนี้ว่า พิพิธภัณฑสถานจังหวัดกำแพงเพชร

เฉลิมพระเกียรติ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๙

       สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ ทรงประกอบพิธีเปิดพิพิธภัณฑสถานจังหวัดกำแพงเพชร เฉลิมพระเกียรติ

เมื่อวันที่ ๑๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๐