วิชาวิทยาการคำนวณ ๑

(วิทยาการคำนวณ)

คำอธิบายรายวิชา

หนังสือเรียน วิทยาการคำนวณ ชั้น ม.1 สสวท.

หนังสือเรียน วิทยาการคำนวณ ชั้น ม.1 สนพ.อักษรเจริญทัศน์

ห้องเรียนออนไลน์ 

Classstart                                             GoogleClassroom

https://app.classstart.org/?_gl=1*1cj0n6b*_ga*YW1wLWpoUkZXWUFabFItbVdoZzRrUGJMdGc.#/classes/36502
https://classroom.google.com/u/0/c/NDA5MDIxMTI4NzNa
http://thumariya.rf.gd/
New

วิทยาการคำนวณ ๑

คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์

รหัสวิชา ว21103 เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

 เวลา 40 ชั่วโมง  จํานวน 1 หน่วยกิต

      ศึกษาแนวคิคเชิงนามธรรม การคัดเลือกคุณลักษณะที่จําเป็นต่อการแก้ปัญหา ขั้นตอน การแก้ปัญหา การเขียนรหัสลําลองและผังงาน        การเขียนออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย ที่มีการใช้งานตัวแปร เงื่อนไขและการวนซ้ำ เพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์       การรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ การประมวลผล ข้อมูล การสร้างทางเลือกและประเมินผลเพื่อตัดสินใจ ซอฟต์แวร์และบริการบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้ในการ จัดการ ข้อมูล แนวทางการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ปลอดภัย การจัดการอัตลักษณะ การพิจารณาความเหมาะสมของเนื้อหา ข้อตกลงและข้อกําหนด การใช้สื่อและแหล่งข้อมูล

 นําแนวคิดเชิงนามธรรมและขั้นตอนการแก้ปัญหาไปประยุกต์ใช้ในการเขียนโปรแกรมหรือการแก้ปัญหาในชีวิตจริงรวบรวมข้อมูลและสร้างทางเลือกในการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ และตระหนักถึงการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เกิดประโยชน์ต่อการเรียนรู้และไม่สร้างความเสียหายให้แก่ผู้อื่น 

ตัวชี้วัด ว. 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคํานวณ)

1. ออกแบบอัลกอริทึมที่ใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพื่อแก้ปัญหาหรืออธิบายการทํางานที่พบในชีวิตจริง

2. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์

3. รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมินผล นําเสนอข้อมูลและสารสนเทศตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ต                ที่หลากหลาย

4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ใช้สื่อและแหล่งข้อมูลตามข้อกําหนดและข้อตกลง 

  รายวิชา  เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)   ประกอบด้วย        

บทที่ 1 แนวคิดเชิงนามธรรม

           1.1 แนวคิดเชิงนามธรรม

            1.2 การคัดเลือกคุณลักษณะที่จำเป็นต่อการแก้ปัญหา 

            1.3 การถ่ายทอดรายละเอียดของปัญหาและการแก้ปัญหา

บทที่ 2 การแก้ปัญหา

        2.1 ขั้นตอนการแก้ปัญหา 

         2.2 การเขียนรหัสลำลองและผังงาน 

         2.3 การกำหนดค่าให้ตัวแปร 

         2.4 ภาษาโปรแกรม 

บทที่ 3 การโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน 

         3.1 รู้จักไพทอน 

         3.2 ตัวแปร 

         3.3 ชนิดข้อมูลพื้นฐาน 

         3.4 การแปลงชนิดข้อมูล 

         3.5 การเขียนโปรแกรมไพทอนในโหมดสคริปต์ 

         3.6 ฝึกเขียนโปรแกรมกับเต่าไพทอน 

         3.7 การทำงานแบบวนซ้ำ

         3.8 การทำงานแบบมีทางเลือก   

บทที่ 4 การโปรแกรมด้วย Scratch 

         4.1 รู้จักกับโปรแกรม Scratch 

         4.2 การทำงานแบบวนซ้ำ 

         4.3 ตัวแปร 

         4.4 การทำงานแบบมีทางเลือก 

         4.5 คำ สั่งวนซ้ำแบบมีเงื่อนไข 

บทที่ 5 ข้อมูลและการประมวลผล 

         5.1 ข้อมูล 

         5.2 การรวบรวมข้อมูล 

         5.3 การประมวลผลข้อมูล 

         5.4 การสร้างทางเลือกเพื่อตัดสินใจ 

         5.5 ซอฟต์แวร์จัดการข้อมูล 

บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย 

         6.1 ภัยคุกคามจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการป้องกัน 

         6.2 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ