นโยบาย ดร.กมล รอดคล้าย เลขาธิการ กพฐ.
ดร.กมล รอดคล้าย เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) ประกาศเดินหน้านโยบายสำคัญ 4 ประการ ของคสช. ได้แก่
1) การปรับปรุงหลักสูตรและการเรียนการสอนเพื่อสร้างคนไทยในศตวรรษที่ 21 ให้มีคุณลักษณะตามที่ต้องการ โดยเฉพาะมีความรักชาติและสามัคคี ซึ่งถ้าแปลงนโยบายสู่การ ปฏิบัติก็คือการแยกวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง
2) การพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา เปลี่ยนแปลง โครงการ 1 คอมพิวเตอร์พกพา (แท็บเล็ต) ต่อ 1 นักเรียนมาเป็นการจัดทำห้องเรียนอัจฉริยะ หรือห้องเรียนสมาร์ทคลาสรูมให้นักเรียนทุกชั้น ปีได้มีโอกาสเข้าไปใช้งานแทน และเปลี่ยนชื่อโครงการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
3) การดำเนินงาน โครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม โรงเรียนวังไกลกังวล ให้สมบูรณ์ 100% สพฐ.จะเข้าไปเติมเต็มเร่งติดตั้งให้ครบทุกโรงเรียนก่อนวันที่ 5 ธันวาคม 2557 เป็นการดำเนินการถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สพฐ.ตั้งความหวังว่าในวันที่ 5 ธันวาคมปีนี้ นักเรียนทุกคนจะมีโอกาสได้สัมผัสเทคโนโลยีสารสนเทศใน รูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นห้องสมาร์ทคลาสรูม ห้องคอมพิวเตอร์และการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม" ลดความเหลื่อมล้ำทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพการศึกษา ยกระดับโรงเรียนให้เท่าเทียมกัน การ แก้ปัญหาอ่านออกเขียนได้ การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ และการเพิ่มผล สัมฤทธิ์ของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ โดยเฉพาะการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ขั้นพื้นฐาน หรือโอเน็ต
4) การพัฒนาระบบบริหารจัดการในด้านต่างๆ อาทิ การปรับปรุง ระบบค่าใช้จ่ายรายหัว
ทั้งนี้ การสนองนโยบายทั้ง 4 ข้อของ คสช. เป็นภารกิจเฉพาะหน้าแต่ภารกิจระยะยาวของ สพฐ.คือ การปฏิรูปการศึกษา ซึ่งปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) จะตั้งคณะกรรมการ ระดับชาติขึ้นมากำหนดพิมพ์เขียวการศึกษาชาติ และ สพฐ.จะตั้งกรรมการของ สพฐ.ขึ้นมาทำงานล้อไปกับคณะกรรมการชุดดังกล่าว
ที่มา : http://www.moe.go.th
ปฐมบทการนิเทศ
การนิเทศการศึกษาของไทยเริ่มต้นขึ้น เมื่อมีผู้เชี่ยวชาญจากองค์การยูเนสโก (UNESCO) มาช่วยปรับปรุงการศึกษาระดับ อนุบาล ประถมศึกษาตามโครงการกรุงเทพ-ธนบุรี และโครงการฉะเชิงเทรา เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2493 เป็นต้นมา ผู้เชี่ยวชาญดังกล่าว ได้ริเริ่มเสนอแนะให้กรมสามัญเดิม คัดเลือกครูที่ทำงานดีเด่นมาฝึกอบรมเป็นศึกษานิเทศก์ (ครูผู้ทำหน้าที่ผู้นิเทศ) ช่วยปรับปรุงการศึกษาตามโครงการดังกล่าวข้างต้น แต่ยังไม่มีการประกาศเป็นทางการ คล้ายๆ เป็นการทดลองนำร่อง จนถึงปี พ.ศ. 2496 จึงมีการจัดตั้งหน่วยศึกษานิเทศก์ขึ้นในกรมวิสามัญศึกษา (เดิม) เป็นครั้งแรก เนื่องจากในระยะนั้น ประเทศไทย กำลังตื่นตัวเรื่องการศึกษาแบบพัฒนาการ (PROGRESSIVE EDUCATION) และ กำลังสนใจเรื่องเด็กเป็นศูนย์กลางในการเรียนรู้กันมาก ศึกษานิเทศก์ในชุดแรกจึงมีหน้าที่คอยแนะนำในเรื่องการจัดการศึกษาแบบพัฒนาการโดยเฉพาะ และให้เน้นหนักเป็นพิเศษเกี่ยวกับ การฝึกหัดครูในโรงเรียนฝึกหัดครู งานนิเทศการศึกษาดำเนินควบคู่มากับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษามายาวนาน นับจนถึงปี พ.ศ. 2556 ก็ร่วม 60 กว่าปีแล้ว
ด่วนที่สุด!!! ตรวจสอบรายชื่อ ผอ.กลุ่มนิเทศฯ เกษียณ 2557 คลิก
กำหนดส่ง ประวัติและประสบการณ์ในวิชาชีพ สำหรับศึกษานิเทศก์ผู้ที่จะเกษียณ
ภายใน 15 สิงหาคม 2557 หากพ้นกำหนด เรื่องของท่านจะไม่สามารถพิมพ์ลงในเล่มได้
ส่งด่วนที่ obec.esdc@gmail.com
โครงการโรงเรียนดีประจำตำบล ประจำปี 2557
ดาวน์โหลดเอกสารที่เกี่ยวข้อง หนังสือแจ้ง [ ประถม ] [ มัธยม ] [ สิ่งที่ส่งมาด้วย ]
ดาวน์โหลดแบบรายงานโรงเรียนดีประจำตำบล คลิกที่นี่ Word PDF
ดาวน์โหลด เอกสารการประชุม 29 - 30 มิ.ย. 57 ณ โรงแรมอะเดรียติก กทม.
ด่วน!!!*** ดาวน์โหลดเอกสารการพัฒนาระยะที่ 2
โครงการพัฒนาสมรรถนะและศักยภาพศึกษานิเทศ หนังสือแจ้ง สพป. สพม.
รายชื่อและประกาศ
------------------------------------------------------------------------------------------
หลักสูตรที่ 1 การพัฒนาทักษะการนิเทศ [กำหนดการ] [รุ่นที่ 1] [รุ่นที่ 2] [รุ่นที่ 3] [รุ่นที่ 4]
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการประชุม
-ไฟล์นำเสนอ การนิเทศโดยการเสริมสร้างพลังอำนาจครู โดย ดร.ประวิต เอราวรรณ์
-ไฟล์นำเสนอ การพัฒนาบุคลิกภาพ โดย ดร.สรัสวดี มุสิกบุตร
-ไฟล์นำเสนอ ศึกษานิเทศก์ในยุคศตวรรษที่ 21โดย ดร.อมลวรรณ วีระธรรมโม และดร.วิทวัฒน์ ขัตติยะมาณ
-ไฟล์นำเสนอ การนิเทศจากผลการสอบเพื่อขับเคลื่อนการเรียนการสอน โดย ดร.จำนงค์ ศรีมังกร [ไฟล์เอกสาร]
-ไฟล์นำเสนอ การนิเทศภายใต้ข้อจำกัด โดย ศน.ศศวรรธน์ ขรรค์ทัพไทย
-ไฟล์เอกสาร ศน.ประกอบ มณีโรจน์
-----------------------------------------------------------------------------------------
หลักสูตรที่ 2 การพัฒนางานตามมาตรฐานวิชาชีพ [กำหนดการ] [หลักสูตร 2.1] [หลักสูตร 2.2]
หลักสูตรที่ 3 ไอซีทีเพื่อพัฒนาการนิเทศ [กำหนดการ] [หลักสูตร 3.1] [หลักสูตร 3.2]
คำสั่งคณะทำงาน [คำสั่ง] [รายชื่อ]
ด่วน ! ! ! ดาวน์โหลดเกณฑ์วิธีปฏิบัติที่ดี ศน.ดีเด่น และ ศน.ต้นแบบ
*กำหนดส่ง : วิธีปฏิบัติที่ดี ส่งวันที่ 20 มิถุนายน 2557 | ศน.ดีเด่น และ ศน.ต้นแบบ ส่งวันที่ 1 กรกฎาคม 2557
ศึกษานิเทศก์โปรดเตรียมตัวรับการพัฒนาเพื่อการเชิดชูเกียรติ
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดำเนินโครงการพัฒนาศึกษานิเทศก์โดยศูนย์นิเทศและพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ศนฐ.) เตรียมการ จัดกิจกรรมการประกวดศึกษานิเทศก์และผลงานของศึกษานิเทศก์ในปีงบประมาณ 2557 จำนวน 3 รายการ ดังนี้
1.
วิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practices) กำหนดส่ง 20 มิ.ย. 57
2. ศึกษานิเทศก์ดีเด่น (Supervisor Awards) กำหนดส่ง
1 ก.ค. 57
3. ศึกษานิเทศก์ต้นแบบ (Master Supervisor) กำหนดส่ง
1 ก.ค. 57
ขอให้ศึกษานิเทศก์เตรียมการเข้ารับการคัดเลือกและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเตรียมการดำเนินการ
ตามรายละเอียดในร่างหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกวิธีปฏิบัติที่ดี (Best
Practices) ศึกษานิเทศก์ดีเด่น (Supervisor Awards) และศึกษานิเทศก์ต้นแบบ (Master
Supervisors) ที่นำเสนอไว้นี้
ทั้งนี้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจะได้แจ้งรายละเอียดอย่างเป็นทางการต่อไป
สพฐ. โดย ศนฐ. ประชุมผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศฯ 2-4 พ.ค. 2557
ศนฐ. ขอแจ้งกำหนดการประชุมผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั่วประเทศ ซึ่งกำหนดให้มีขึ้นระหว่างวันที่ 2-4 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมเดอะพาลาซโซ่ ถนนรัชดาภิเษก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร คลิก ที่นี่ เพื่อดาวน์โหลดหนังสือแจ้งการประชุม
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการประชุม
ประชุมบรรณาธิการกิจ
เอกสารแนวทางการัฒนางาน
และเครื่องมือการนิเทศ ปี 2557
วันที่ 8 - 11 เมษายน 2557 ศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดประชุมปฏิบัติการบรรณาธิการกิจเอกสารแนวทางการัฒนางานและเครื่องมือการนิเทศ พ.ศ. 2557 เพื่อใช้เป้นแนวทางในการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษา ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการนิเทศการศึกษาขั้นพื้นฐาน ณ โรงแรมแกรนด์ทาวเวอร์ อินน์ กรุงเทพมหานคร
รายงานผลการนิเทศโครงการวิจัยผลการใช้แท็บเล็ต ป. 1
ความเป็นมาของศูนย์นิเทศฯ
ศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีบทบาทหน้าที่เกี่ยวกับ การส่งเสริมสนับสนุนการนิเทศ อ่านต่อ | ขอบข่ายภาระงาน
หน้าที่ของคณะกรรมการพัฒนาการนิเทศและเร่งรัดคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ศนฐ.) อ่านต่อ | การนิเทศเต็มพิกัด
การนิเทศเต็มพิกัด คือ การปฏิบัติหน้าที่นิเทศการศึกษาโดยระดมพลังของการนิเทศ ทั้งจำนวนอัตรากำลังบุคลากร เทคนิควิธีการ อ่านต่อ |