ศาสตราจารย์ ดร.สมปอง เตชะโต

วุฒิการศึกษา

วท.บ. (พืชศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

M.Agr. (Horticultural Science) Chiba University (Japan)

Ph.D. (Plant Cell Technology) Chiba University (Japan)

สาขาที่เชี่ยวชาญ

เทคโนโลยีเซลล์พืชเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช

ภาระงานสอน

ระดับปริญญาตรี

510-311 หลักการขยายพันธุ์พืช

510-391 ฝึกภาคสนามพืชศาสตร์

510-401 เทคโนโลยีชีวภาพของพืชปลูก

510-497 สัมมนา

ระดับปริญญาโท

510-501 เทคโนโลยีชีวภาพขั้นสูงของพืชปลูก

510-594 ปัญหาพิเศษ

510-596 หัวข้อวิทยาการใหม่ทางพืชศาสตร์

510-597 สัมมนาพืชศาสตร์ระดับบัณฑิตศึกษา 1

510-598 สัมมนาพืชศาสตร์ระดับบัณฑิตศึกษา 2

510-599 วิทยานิพนธ์

510-601 พันธุวิศวกรรมของพืชปลูก

510-603 เทคโนโลยีเซลล์พืช

ระดับปริญญาเอก

510-711 ปรัชญาวิทยาศาสตร์และการพัฒนางานวิจัย

510-798 ปัญหาพิเศษ 1

510-898 ปัญหาพิเศษ 2

โครงการวิจัย

2558–2560 : การชักนำการเกิดพอลิพลอยด์ในกล้วยไม้เขากวางอ่อนโดยการใช้สารโคลซิซินในหลอดทดลอง (ผู้ร่วมโครงการ)

2557–2558 : การชักนำพืชต้นใหม่ผ่านกระบวนการโซมาติกเอ็มบริโอโดยตรงจากการเพาะเลี้ยงชิ้นส่วนใบอ่อนปาล์มน้ำมันในหลอดทดลอง (หัวหน้าโครงการ)

2555–2558 : การถ่ายทอดเทคโนโลยีชีวภาพการขยายพันธุ์พืชอย่างง่ายแก่โรงเรียนมัธยมในจังหวัดสงขลาที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชในรูปของสวนพฤษศาสตร์ (หัวหน้าโครงการ)

2554–2557 : การบริหารจัดการเชื้อพันธุกรรมปาล์มน้ำมัน เพื่อการผลิตเมล็ดพันธุ์ลูกผสมเทเนอราเชิงพาณิชย์ (ผู้ร่วมโครงการ)

2553–2557 : การผลิตกล้าปาล์มน้ำมันพันธุ์ดีโดยกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพ (หัวหน้าโครงการ)

2553–2556 : การขยายยางพันธุ์สายต้นพันธุ์ดีและการอนุรักษ์เชื้อพันธุ์ด้วยกระบวนการทางเทคโนโลยีชีวภาพ (หัวหน้าโครงการ)

2554–2555 : การถ่ายทอดเทคโนโลยีชีวภาพการขยายพันธุ์พืชอย่างง่ายแก่โรงเรียนมัธยมในจังหวัดสงขลาที่อนุรักษ์พันธุกรรมพืชในรูปของสวนพฤษศาสตร์ (หัวหน้าโครงการ)

2550–2554 : การขยายพันธุ์และจัดเตรียมต้นพันธุ์ผักพื้นบ้านและไม้ผลพื้นเมืองภาคใต้เพื่อเก็บรวบรวมไว้ในหลอดทดลอง (in vito) และนำไปปลูกยังถิ่นเดิม (in situ) (หัวหน้าโครงการ)

ผลงานวิชาการ


เอกสารประกอบการสอน/ตำรา/หนังสือ

สมปอง เตชะโต. 2539. เทคโนโลยีชีวภาพของพืชปลูก. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 286 หน้า (พิมพ์ครั้งที่ 3).

สมปอง เตชะโต. 2539. บทปฏิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพของพืชปลูก. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 156 หน้า (พิมพ์ครั้งที่ 3).

ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

Kerdsuwan, S. and Te-Chato, S. 2016. Direct somatic embryo formation from roots of In vitro-seedlings of oil palm (Elaeis Guineesis Jacq.). Walailak Journal of Science and Technology. 13(1) : 45-53.

Yinxia, Z. and Te-Chato, S. 2015. Optimization of certain parameters for transformation of indica rice Hom Kra Dang Ngah variety via Agrobacterium-mediated transformation. Kasetsart Journal - Natural Science. 49(5) : 676-686.

ศตปพร เกิดสุวรรณ และสมปอง เตชะโต. ผลของโคลซิซินต่อการชักนำโพลีพลอยด์ในแววมยุราในหลอดทดลอง. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์. 2(1) : 17-23.

ชญานีย์ สังวาลย์ และสมปอง เตชะโต. 2558. การประเมินความแปรปรวนทางพันธุกรรมของต้นกล้าปาล์มน้ำมันในหลอดทดลองที่พัฒนาจากโซมาติกเอ็มบริโอที่ผ่านการทรีตด้วยเอธิลมีเทนซัลโฟเนต (EMS) ด้วยเครื่องหมาย SSR. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์. 2(1) : 29-33

ภาณินี ช่วยมี สุรีรัตน์ เย็นช้อน และสมปอง เตชะโต. 2558. ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการขยายพันธุ์ยางพารา (Hevea brasiliensis Muell. Arg.) พันธุ์ดั้งเดิมจากการเพาะเลี้ยงตาสีเขียวในหลอดทดลอง. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์. 2(2) : 17-20.


สุนทรียา กาละวงศ์ และสมปอง เตชะโต. 2558. การชักนำการสร้างต้นยางพาราในหลอดทดลอง โดยใช้เทคนิคไมโครคัตติ้ง. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์. 2(2) : 21-26.


วุฒิชัย ศรีช่วย และสมปอง เตชะโต. 2558. การตรวจสอบความแปรปรวนทางพันธุกรรมของโซมาติกเอ็มบริโอยางพาราจากการเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรในหลอดทดลองโดยเครื่องหมาย SSR และโฟลไซโทเมทรี. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์. 2(2) : 27-31.


ปริญา สุคนธรัตน์ ทัศนี ขาวเนียม และสมปอง เตชะโต. 2558. การทำให้ชิ้นส่วนปลอดเชื้อ และการชักนำแคลลัสจากชิ้นส่วนกาบใบของขมิ้นชันในหลอดทดลอง. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์. 2(2) : 36-40.


ธิดารัตน์ ทองแผ่ ทัศนี ขาวเนียม และสมปอง เตชะโต. 2558. ผลของสูตรอาหารและสภาพวางเลี้ยงต่อการชักนำเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสจากคัพภะอ่อนของปาล์มน้ำมันพิสิเฟอรา (Elaeis quineensis Jacq. var. Pisifera). วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์. 2(2) : 41-45.


อรุณี ยูโซ๊ะ และสมปอง เตชะโต. 2558. การขยายพันธุ์ข้าวหอมกระดังงาโดยการเพาะเลี้ยงปลายยอดภายใต้ระบบไบโอรีแอคเตอร์. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์. 2(3) : 12-16.


ไซนีย๊ะ สะมาลา พลวัต ภัทรกุลพิสุทธิ สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้อน. 2558. อิทธิพลของ BA และ NAA ต่อการเพิ่มจำนวนยอดรวมของฟักข้าว. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 33(ฉบับพิเศษ1) : 3-9.


Yenchon, S. and Te-chato, S. 2015. Sonication-Assisted Agrobacterium-mediated Gene Transformation of Oil Palm Secondary Somatic Embryo. Kasetsart J. (Nat. Sci.). 49 : 319-326.


Kalawong, S., Srichuay, W., Sirisom, Y. and Te-chato, S. 2014. Microcutting as a Tool for Propagation and Genetic Transformation in Rubber Tree. Thaksin University Journal. 17(4) : 15-25.


Samala, S., Te-chato, S., Yenchon, S. and Thammasiri, K. 2014. Protocorm-like body proliferation of Grammatophyllum speciosum through asymbiotic seed germination. ScienceAsia. 40 : 379-383.


Nooprom, K., Santipracha, Q. and Te-chato, S. 2014. Growth and Yield of Broccoli under Different Rain Protectors During the Rainy Season in Songkhla Province, Southern Thailand. Kasetsart J. (Nat. Sci.). 48 : 1-8.


สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้อน. 2557. การใช้โฟลไซโตเมรีตรวจสอบความแตกต่างระหว่างพันธุ์ในไม้ผลบางชนิด. ว.วิทย.กษ. 45 3(พิเศษ) : 407

ไซนีย๊ะ สะมาลา สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้อน. 2557. ผลของสูตรอาหารและสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการพัฒนาเป็นพืชต้นใหม่ในกล้วยไม้สามปอยขุนตาน. ว.วิทย.กษ. 45 3(พิเศษ) : 309-314.


ยุพาภรณ์ ศิริโสม และสมปอง เตชะโต. 2557. การประเมินความแปรปรวนทางพันธุกรรมของต้นยางพาราที่ได้จากกระบวนไมโครคัตติ้งโดยเครื่องหมาย RAPD. ว.วิทย.กษ. 45 3(พิเศษ). 51-54.


สุรีรัตน์ เย็นช้อน และสมปอง เตชะโต. 2557. การขยายพันธุ์มะดัน (Garcinia schomburgkiana Pierre.) ในหลอดทดลอง. ว.วิทย.กษ. 45 3(พิเศษ) : 75-80.


Srichuay, W., Kalawong, S., Sirisom, Y. and Te-chato., S. 2014. Callus Induction and Somatic Embryogenesis from Anther Cultures of Hevea brasiliensis Muell Arg. Kasetsart J. (Nat. Sci.). 48 : 364-375.


Kalawong, S. Srichuay, W. and Te-chato, S. 2014. The effect of Agrobacterium densities and inoculation times on gene transformation efficiency in rubber tree. African Journal of Biotechnology. 13(23) : 2321- 2329.


Srichuay, W., Kalawong, S. and Te-chato, S. 2014. Effect of seasonal collection on callus Induction, proliferation and somatic embryogenesis from anther cultures of Hevea brasiliensis Muell Arg. African Journal of Biotechnology. 13(35) : 3560-3566.


วุฒิชัย ศรีช่วย และสมปอง เตชะโต. 2557. ผลของคลอรีนไดออกไซด์ต่อการทำให้ปลอดเชื้อในการ เพาะเลี้ยงสับปะรดภูแลด้วยระบบไบโอรีแอคเตอร์. แก่นเกษตร. 42(ฉบับพิเศษ 3) : 75- 80.


วราภรณ์ หีดฉิม และสมปอง เตชะโต. 2557. การตรวจสอบความแปรปรวนทางพันธุกรรมของต้น กล้าปาล์มน้ำมันในหลอดทดลองด้วยเทคนิคโฟลไซโทเมทรีและเครื่องหมายเอสเอสอาร์. แก่นเกษตร. 42(ฉบับพิเศษ 3) : 403-408.


ชญานีย์ สังวาล และสมปอง เตชะโต. 2557. การพัฒนาของโซมาติกเอ็มบริโอปาล์มน้ำมัน หลังการ ทรีตด้วยเอธิลมีเทนซัลโฟเนต (EMS). แก่นเกษตร. 42(ฉบับพิเศษ 3) : 397-402.


สุรีรัตน์ เย็นช้อน มาลัยวัลย์ ยังนิ่ง และสมปอง เตชะโต. 2557. ผลของซิลเวอร์ไนเตรทต่อการยืดอายุ การบานของกุหลาบสายพันธุ์มายวาเลนไทน์ในหลอดทดลอง. แก่นเกษตร. 42(ฉบับพิเศษ 3) : 573-577.


ทัศนี ขาวเนียม และสมปอง เตชะโต. 2557. ผลของขนาดยอดและระยะเวลาเลี้ยงในอาหารเหลวต่อ การพัฒนาเป็นพืชต้นใหม่โดยตรงจากใบของส้มแขก. แก่นเกษตร. 42(ฉบับพิเศษ 3) : 341-346.


Yenchon, S. and Te-chato, S. 2014. Polyploidy Induction of Dendrobium formosum by Colchicine Treatment In Vitro. Proceedings of the International Symposium on Orchids and Ornamental Plants. Chaing Mai, Thailand January 9-11 2012. Acta Horticulturae. 1025 : 81-88.


ไซนีย๊ะ สะมาลา สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้อน. 2557. ผลของ ethyl methanesulphonate (EMS) ต่อกล้วยไม้หวายโซเนีย. แก่นเกษตร. 42(ฉบับพิเศษ 3) : 506-511.


สกุลรัตน์ แสนปุตะวงษ์ สมปอง เตชะโต และสรพงค์ เบญจศรี. 2557. ผลของผงถ่านและอาหารเหลวต่อการงอกและการพัฒนาเป็นพืชต้นใหม่จากโซมาติกเอ็มบริโอชุดที่สองของปาล์มน้ำมัน. แก่นเกษตร. 42(ฉบับพิเศษ 3) : 456-461.


Inpuay, K. Arthipatjaporn, A. and Te-chato S. 2012. Assessment genetic instability of regenerated plantlets from long-term culture of oil palm through SSE formation by SSR marker. Journal of Agricultural Technology 8(2) : 585-595.


Inpuay, K. and Te-chato. 2012. Primary and secondary somatic embryos as tool for the propagation and artificial seed production of oil palm. Journal of Agricultural Technology 8(2) : 597-609.


Samala, S. and Te-chato, S. 2012. Ploidy induction through secondary somatic embryo (SSE) of oil palm by colchicine treatment. Journal of Agricultural Technology 8(1) : 337-352.


Nizam, K. and Te-chato, S. 2012. In Vitro Flowering and Fruit Setting of Oil Palm Elaeis guineensis Jacq. Journal of Agricultural Technology 8(3) : 1079-1088.


Promchan, Thanawadee., Sanputawong, S. and Te-chato, S. 2012. Effect of sizes of haustorium embryo on secondary somatic embryo formation and histological study in oil palm. Journal of Agricultural Technology 8(2) : 671-679.3.


Sikong, L., Panritdam, H., Chungsiriporn, J. and Te-chato, S. 2012. Synthesis and characterization of SnO 2/N – Doped Tio2 nanoparticles. Advanced Materials Research 488-489 : 22-26. ไซนีย๊ะ สะมาลา และสมปอง เตชะโต. 2555. การเพิ่มชุดโครโมโซมของปาล์มน้ำมันโดยใช้คอลชิซีนในหลอดทดลอง. วารสารเกษตร 28(1) : 51-59.


ไซนีย๊ะ สะมาลา และสมปอง เตชะโต. 2555. การเพิ่มชุดโครโมโซมของปาล์มน้ำมันโดยใช้คอลชิซีนในหลอดทดลอง. วารสารเกษตร 28(1) : 51-59.


Inpeuy, K, Chaemalee, S. and Te-chato, Sompong. 2011. Cytokinins and coconut water promoted abnormalities in zygotic embryo culture of oil palm. Songklanakarin J. Sci. Technol. 33(6) : 653-657.


Khawnium, T and Te-chato, S. 2011. Simple vitrification protocol for cryopreservation of oil palm using embryogenic culture. Journal of Agricultural Technology 7(2) : 519-529.


Rittirat, S., Te-chato, S., Kerdsuwan, N. and Kongruk, S. 2011. Micropropagation of Chang Daeng (Rhynchostylis gigantean var. Sagarik) by embryogenic callus. Songklanakarin J. Sci. Technol. 33(6) : 659-663.


Suraninpong, P. and Te-chato, S. 2011. Analysis of somaclonal variation of callus, somatic embryo and plant regeneration of in vitro oil palm (Elaeis guineensis Jacq). Journal of Agricultural Technology 7(2) : 531-545.


พจมาลย์ สุรนิลพงศ์ สุภาวดี ถาวโร และสมปอง เตชะโต. 2554. ปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการถ่ายยีนเข้าสู่ปาล์มน้ำมัน. วารสารแก่นเกษตร 39(พิเศษ 2) : 72-79.


สุรีรัตน์ เย็นช้อน สมปอง เตชะโต และศิริญญา ม่วงสอน. 2554. การชักนำ protocorm-like bodies จากต้นกล้วยไม้เหลืองจันทบูรด่างที่เกิดจากการใช้ ethyl methane sulfonate. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 42(3/1)(พิเศษ) : 155-158.


สมปอง เตชะโต สุรีรัตน์ เย็นช้อน และลินดา สายยนต์. 2554. ผลของชิ้นส่วนและสูตรอาหารต่อการสร้างยอดรวมจากการเพาะเลี้ยงส้มแขกในหลอดทดลอง. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 42(3/1)(พิเศษ) : 151-154.


อัญชลี อาธิปัจจาภรณ์ และสมปอง เตชะโต. 2554. การประเมินความแปรปรวนของเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสปาล์มน้ำมันลูกผสมเทเนอราที่เพาะเลี้ยงบนอาหารแข็ง และในอาหารเหลวโดย เทคนิค RAPD. วารสารวิทยาศาสตร์ เกษตร 42(3/1)(พิเศษ) : 311-314.


Kaewpoo, M. and Te-chato, S. 2010. Study on ploidy level of micropropagated Jatropha curcas L. via flow cytometry. Journal of Agricultural Technology 6(2) : 391-400.


Moosikapala, L and Te-chato, S. 2010. Application of in vitro conservation in Vetiveria zizanioides Nash.Journal of Agricultural Technology 6(2) : 401-407.


Suraninpong, P. and Te-chato, S. 2010. In Vitro propagation of a woody ornamental Eranthemumnervosum (Vahl) R. Br. Journal of Agricultural Technology 6(3) : 579-588.


Te-chato, S., Kongruk, S. and Khaimuk, W. 2010. Micropropagation of Chang Daeng (Rhynchostylis rubrum) by embryogenic callus. Journal of Agricultural Technology 6(3) : 589-597.


Thawaro, S. and Te-chato, S. 2010. Verification of legitimate tenera oil palm hybrids using SSR and propagation of hybrids by somatic embryogenesis. Songklanakarin J. Sci. Technol. 32(1) : 1-8.


Thawaro, S. and Te-chato, S. 2010. Effect of culture medium and genotype on germination of hybrid oil palm zygotic embryos. ScienceAsia 36 : 26-32.


คมกฤษณ์ อินเปื่อย และสมปอง เตชะโต. 2553. ผลของความเข้มข้นของซูโครสและ adenine sulfate ต่อการเพิ่มปริมาณเซลล์ซัสเพนชั่นของปาล์มน้ำมัน. ว.วิทย์.กษ. 41(2) (พิเศษ) : 229-232.


ไซนีย๊ะ สะมาลา และสมปอง เตชะโต. 2553. ผลของคอลชิซีนต่อการเจริญและพัฒนาของ SSE ปาล์มน้ำมัน. ว.วิทย์.กษ. 41(2) (พิเศษ) : 237-240.


ณัฐพร เกิดสุวรรณ และสมปอง เตชะโต. 2553. ผลของโคลชิชินต่ออัตราการรอดชีวิตและลักษณะทางสรีรวิทยาของกล้วยไม้ช้างแดง (Rhynchostylis gigantean var. rubrum Sagarik) จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. ว.วิทย์.กษ. 41(2) (พิเศษ) : 357-360.


ลัดดาวัลย์ มูสิกะปาละ และสมปอง เตชะโต. 2553. การชักนำโซมาติคเอมบริโอในหญ้าแฝกพันธุ์สงขลา 3 (Vetiveria zizanioides Nash). ว.เกษตร 26(2) : 107-118.


สกุลรัตน์ สุวรรณโณ และสมปอง เตชะโต. 2553. การศึกษาเบื้องต้นในการแยกโปรโตพลาสต์จาก เซลล์ซัสเพนชั่นปาล์มน้ำมันพันธุ์เทเนอรา. ว.วิทย.กษ. 41(2)(พิเศษ) : 305-308.


สกุลรัตน์ แสนปุตะวงษ์ และสมปอง เตชะโต. 2553. ปัจจัยทางชีวภาพที่มีผลต่อการสร้างโซมาติกเอ็มบริโอชุดที่สองและการพัฒนาเป็นพืชต้นใหม่ของคู่ผสมปาล์มน้ำมัน. ว.วิทย์.กษ. 41(2) (พิเศษ) : 313-316.


สุนทรียา กาละวงศ์ และสมปอง เตชะโต. 2553. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการถ่ายยีนเข้าสู่เอ็มบริโอเจนิคแคลลัสของปาล์มน้ำมันโดยใช้เครื่องยิงอนุภาค. ว.วิทย.กษ. 41(2)(พิเศษ) : 309-312.


สุพัตร ฤทธิรัตน์ คำนูณ กาญจนภูมิ สมปอง เตชะโต และครรชิต ธรรมศิริ. 2553. สูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเติบโตและการชักนำการเกิด PLBs จากโพรโทคอร์มกล้วยไม้เขากวางอ่อนในสภาพปลอดเชื้อ. ว.วิทย์.กษ. 41(2) (พิเศษ) : 361-364.


สุรีรัตน์ เย็นช้อน และสมปอง เตชะโต. 2553. ผลของชนิดสายเชื้ออะโกรแบคทีเรียมและอายุของเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสต่อประสิทธิภาพการถ่ายยีนเข้าสู่เอ็มบริโอเจนิคแคลลัสปาล์มน้ำมัน. ว.วิทย์.กษ. 41(2) (พิเศษ) : 205-208.


Thawaro, S. and Te-chato, S. 2009. Application of molecular markers in the hybrid verification and assessment of somaclonal variation from oil palm propagated in vitro. ScienceAsia 35(2) : 142-149.


Te-chato, S., Nujeen, P. and Muangsorn, S. 2009. Paclobutrazol enhance budbreak and flowering of Friederick's Dendrobium orchid In Vitro. Journal of Agricultural Technology 5(1) : 157-165.


Thawaro, S. and Te-chato, S. 2009. Effect of genotypes and auxins on callus formation from mature zygotic embryos of hybrid oil palms. Journal of Agricultural Technology 5(1) : 167-177.


Kaewpoo, M. and Te-chato, S. 2009. Influence of explant types and plant growth regulators on multiple shoot formation from Jatropha curcas. ScienceAsia 35 : 353-357.


ทัศนี ขาวเนียม และสมปอง เตชะโต. 2552. ผลของระยะเวลาการปรับสภาพเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสด้วยน้ำตาลซูโครสต่อการเก็บรักษาในไนโตรเจนเหลวของปาล์มน้ำมันลูกผสมเทเนอรา. ว.วิทย.กษ. 40(3) (พิเศษ) : 222-225.


ธนวดี พรหมจันทร์ อาสลัน หิเล และสมปอง เตชะโต. 2552. การตรวจสอบความแปรปรวนทางพันธุกรรม ของต้นกล้าที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อใบอ่อนของปาล์มน้ำมัน. วารสารเกษตร 25(3) : 211-218.


เพ็ญติมาส กระมุท และสมปอง เตชะโต. 2552. ผลของแหล่งคาร์บอนและความเข้มข้นของสูตรอาหารต่อพัฒนาการของโซมาติกเอ็มบริโอจากเอ็มบริโอเจนิคเซลล์ซัสเพนชั่นของปาล์มน้ำมันบนอาหารแข็ง. ว.วิทย.กษ. 40(3) (พิเศษ) : 448-451.


สกุลรัตน์ แสนปุตะวงษ์ และสมปอง เตชะโต. 2552. ผลของคู่ผสมปาล์มน้ำมันต่อการสร้างแคลลัสและเอ็มบริโอเจนิคแคลลัส. ว.วิทย.กษ. 40(3) (พิเศษ) : 512-515.


สร้อยสิริ คงรักษ์ และสมปอง เตชะโต. 2552. ผลของสูตรอาหารและผงถ่านต่อการพัฒนาเป็นพืชต้นใหม่จาก การเพาะเลี้ยงเซลล์ซัสเพนชั่นกล้วยไม้ช้างแดง (Rhynchostylis gigantean var. Rubrum Sagarik). ว.วิทย.กษ. 40(3) (พิเศษ) : 311-314.


สุรีรัตน์ เย็นช้อน และสมปอง เตชะโต. 2552. ผลของแหล่งชิ้นส่วนต่อการถ่ายยีนเข้าสู่เอ็มบริโอเจนิคแคลลัสปาล์มน้ำมันโดยใช้อะโกรแบคทีเรียม. ว.วิทย.กษ. 40(3) (พิเศษ) : 444-447.


Chehmalee, S. and Te-chato, S. 2008. Induction of somatic embryogenesis and plantlet regeneration from cultured zygotic embryo of oil palm. Journal of Agricultural Technology 4(2):137-146.


Sanputawong, S. and Te-chato, S. 2008. Effect of genotypes of oil palm as indicator for speed of callus and embryogenic callus formation. Journal of Agricultural Technology 4(2):147-156.


Te-chao, S., Hilae, A. and Inpeuy, K. 2008. Effects of cytokinin types and concentrations on growth and development of cell suspension culture of oil palm. Journal of Agricultural Technology 4(2): 157-163.


Thawaro, S. and Te-chato, S. 2008. RAPD (random amplified polymorphic DNA) marker as a tool for hybrid oil palm verification from half mature zygotic embryo culture. Journal of Agricultural Technology 4(2):165-176.


กาญจนา แซ่เอี๊ยบ สมปอง เตชะโต. 2551. ผลของสารปฏิชีวนะและประสิทธิภาพของสายพันธุ์เชื้ออะโกรแบคทีเรียที่มีผลต่อการปลูกถ่ายยีนเข้าสู่โปรโตคอร์มกล้วยไม้เหลืองจันทบูร. ว.วิทย์.กษ. 39(3) (พิเศษ) : 231-234.


ธนวดี พรหมจันทร์ และสมปอง เตชะโต. 2551. ปัจจัยทางกายภาพที่มีผลต่อการเจริญของโซมาติกเอ็มบริโอของปาล์มน้ำมัน (Elaeis guineensis Jacq.). ว.วิทย์.กษ. 39(3)(พิเศษ) : 54-57.


ยุพาภรณ์ ศิริโสม และสมปอง เตชะโต. 2551. ผลของรังสีอัลตราไวโอเลตซี (UV-C) ต่อการกลายพันธุ์ของกล๊อกซิเนีย. วารสารเกษตร 24(2) : 141-151.


ยุพาภรณ์ ศิริโสม และสมปอง เตชะโต. 2551. ผลของเอธิลมีเทนซัลโฟเนต (EMS) ต่ออัตราการรอดชีวิต และการสร้างยอดรวมของกล็อกซิเนีย (Sinningia speciosa) ในหลอดทดลอง. ว.วิทย์.กษ. 39(3)(พิเศษ) : 223-226.


วุฒิชัย ไข่มุกต์ และสมปอง เตชะโต. 2551. การแยกและเพาะเลี้ยงโปรโตพลาสต์กล้วยไม้ช้างแดง ว.เกษตร : 24(3) : 187-198.


ศริญญา นราวิวัฒน์ และสมปอง เตชะโต. 2551. ผลของ paclobutrazol ที่มีต่อลักษณะทางสรีรวิทยาของกล็อกซิเนียในสภาพปลอดเชื้อ. ว.วิทย์.กษ. 39(3)(พิเศษ) : 227-230.


ศิริญญา ม่วงสอน และสมปอง เตชะโต. 2551. การชักนำการกลายพันธุ์ในกล้วยไม้เหลืองจันทบูรด้วย EMS. ว.วิทย์.กษ. 39(3)(พิเศษ) : 239-242.


ศิรินธร คงประพฤติ และสมปอง เตชะโต. 2551. ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญของยอดและการออกดอกของกุหลาบสายพันธุ์มายวาเลนไทม์ในหลอดทดลอง. ว.วิทย์.กษ. 39(3)(พิเศษ) : 271-274.


สุวิชญา รอดสุวรรณน้อย มงคล แซ่หลิม และสมปอง เตชะโต. 2551. อิทธิพลของต้นตอส้มต่อการเจริญเติบโตของกิ่งส้มโชกุน (Citrus reticulata Blanco). ว.เกษตรพระจอมเกล้า : 26(1) :20-28.


อัญญาณี จันทร์ภักดี และสมปอง เตชะโต. 2551. ความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนชุดโครโมโซมกับปริมาณคลอโรพลาสต์ในเซลล์ปากใบของหน้าวัวสายพันธุ์ Micky mouse ที่ผ่านการทรีตด้วยสารโคลซิซิน. ว.วิทย์.กษ. 39(3)(พิเศษ) : 219-222.


สมปอง เตชะโต และเสาวลักษณ์ ชูเดชะ. 2549. การชักนำความผิดปกติของดอกกล๊อกซิเนียโดยใช้พาโคลบิวทราโซลในหลอดทดลอง. ว.วิทย์. กษ. 37:885-888.


เพ็ญจันทร์ เพชรสุด ภาณุพงศ์ หนูชุม และสมปอง เตชะโต. 2549. ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อการเกิดแคลลัส และยอดจากการเพาะเลี้ยงเมล็ดของส้มแขก (Garcinia atroviridis Griff.) ในหลอดทดลอง. ว.วิทย์. กษ. 37:769-772.


มงคล แซ่หลิม, สมปอง เตชะโต และสุภาณี ชนะวีรวรรณ. 2542. การเจริญเติบโตของส้มจุก (Citrus reticulata Blanco.) และส้มโชกุน (Citrus reticulata Blanco.) บนต้นตอส้มบางชนิด ว.สงขลานครินทร์ วทท. 21: 415-423.


สนธยา หนูด้วง และสมปอง เตชะโต. 2542. การเพาะเลี้ยงชิ้นส่วนต่าง ๆ จากต้นกล้าส้มโชกุน (Citrus reticulata Blanco cv. Shogun). ว.สงขลานครินทร์ วทท. 21: 309-317.


พจมาลย์ สุรนิลพงศ์ และสมปอง เตชะโต. 2542. ผลของไซโตไคนินต่อการเลี้ยงเซลล์ซัสเพนชันการแยก และการเลี้ยงโปรโตพลาสต์ยางพารา. ว.สงขลานครินทร์ วทท. 21: 169-177.


สมปอง เตชะโต และราตรี สุจารีย์. 2542. การชักนำการกลายพันธุ์มังคุดโดยใช้โคลชิซินกับใช้ตายอดที่เพาะเลี้ยงในหลอดทดลอง. ว.สงขลานครินทร์ วทท. 21: 155-167.


สมปอง เตชะโต และวิทยา พรหมมี. 2542. การชักนำการกลายพันธุ์มังคุด: การตอบสนองของชิ้นส่วนพืชต่อสิ่งก่อกลายพันธุ์. ว.สงขลาครินทร์ วทท. 21: 25-31.


สมปอง เตชะโต และวิทยา พรหมมี. 2542. การชักนำการกลายพันธุ์มังคุด. ผลของสิ่งก่อกลายพันธุ์ต่อการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีและเนื้อเยื่อวิทยา. ว.สงขลานครินทร์ วทท. 21: 17-24.


Kanjanamaneesathien, M., Te-chato, S., Chantarat, S., Luang-Aram, T. and Bunjerdpradit, B. 1999. Searching for local durians (Durio Zibethinus Murr.) resistant to Phytophthora palmivora (Butl.) Butler in Southern Thailand. Thai J. Agric. Sci. 33: 111-125.


พจมาลย์ สุรนิลพงศ์ และสมปอง เตชะโต. 2541. การชักนำรากจากยอดส้มแขกที่ชักนำในหลอดทดลอง. ว.แก่นเกษตร. 26: 74-84.


วิทยา พรหมมี และสมปอง เตชะโต. 2541. ผลของการฉายรังสีแกมมาให้กับแคลลัสต่อการกลายพันธุ์ของมังคุด. ว.แก่นเกษตร.26: 66-73.


พจมาลย์ สุรนิลพงศ์ และสมปอง เตชะโต. 2541. การขยายพันธุ์ผีเสื้อราตรีในหลอดทดลอง. วารสารเกษตร. 14: 87-98.


Te-chato, S. 1998. Recent potential in the biotechnology of mangosteen II: cultivar improvement. Songklanakarin J. Sci. Technol. 20: 285-293.


Te-chato, S. 1998. Recent potential in the biotechnology of mangosteen I: Micropropagation. Songkanakarin J. Sci. Technol. 20: 275-284.


Te-chato, S. 1998. Isolation and culture of mesophyll protoplasts of mangosteen. Songklanakari J. Sci. Technol. 20: 15-20.


Te-chato, S. 1998. Fertile plant from young leaves-derived somatic embryos of oil palm. Songklanakarin J. Sci. Technol. 20:7-13.


Te-chato, S. 1998. Callus induction from cultured zygotic embryo of oil palm subsequent to plantlet regeneration. Songklanakarin J. Sci. Technol. 20:1-6.


ชนิดา สวัสดิปาณี ราตรี สุจารีย์ และสมปอง เตชะโต. 2540. การเพิ่มปริมาณแคลลัสและชักนำลีฟไพรโมเดียเพื่อขยายพันธุ์มังคุด. ว.สงขลานครินทร์ วทท. 19:157-164.


สมปอง เตชะโต และราตรี สุจารีย์ 2540. ปัจจัยที่มีผลต่อการสร้างรากจากยอดมังคุดที่ชักนำจากการเพาะเลี้ยงใบอ่อน ว.สงขลานครินทร์ วทท. 19: 263-270.


สมปอง เตชะโต. 2540. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมังคุด (Garcinia mangostana L.) พะวา (G. speciosa Wall.) และส้มแขก (G. atroviridis Griff.) ว.สงขลานครินทร์ วทท. 19: 147-155.


Te-chato, S. 1997. lsolation and culture of protoplast of somkhag (Garcinia atroviridis Griff.) to microcolony. Songklarakarin J. Sci. Technol. 19:255-262.


ราตรี สุจารีย์ และสมปอง เตชะโต. 2539. การขยายพันธุต้นกันยุงในหลอดทดลอง. ว. แก่นเกษตร 24: 63-69.


ราตรี สุจารีย์ และสมปอง เตชะโต. 2539. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อส้มแขก. ว. แก่นเกษตร. 24: 14-22.


Te-chato, S., W. Aengyong and M. Lim. 1995. Identification of Lansium domesticum Correa by isozyme technique. Songklanakarin J. Sci. Technol. 17:355-361.


Te-chato, S., M. Lim and M. Chumroenruk. 1995. Grafting vitro-shoot of mangosteen on root stock of pawa ex vitro. Songklanakarin J. Sci. Technol. 17:245-250.


Te-chato, S., M. Lim and P. Suranilpong. 1995. Plantlet formation from leaf-derived embryogenic callus of mangosteen. Songklanakarin J. Sci. Technol. 17:129-136.


Te-chato, S., M. Lim and P. Suranilpong. 1995. Types of medium and cytokinins in relation with purple leaf and callus formation of mangosteen. Songklanakarin J. Sci. Technol. 17:121-128.


Te-chato, S., M. Lim and S. Suranilpong. 1995. Embryogenic callus induction in mangosteen (Garcinia mangostana L.). Songklanakarin J. Sci. Technol. 17:115-120.


Te-chato, S. and P. Suranilpong. 1995. Screening of rubber callus resistant to phytophthora leaf fall agent. Songklanakarin J. Sci. Technol. 17:7-16.


Te-chato, S. and P. Suranilpong. 1995. Identification of rubber callus resistant to culture filtrate of Phytophthora spp. Songklanakarin J. Sci. Technol. 17:1-6.

ผลงานวิจัยเสนอในที่ประชุมวิชาการ

Nizam, K. and Te-chato, S. 2011. The effect of potent Plant growth regulators (PGRs) on in vitro floweringof oil palm. Proceedings of the 7th IMT-GT UNINET and the 3rd International PSU-NUS Conferences on Bioscience. Held at PSU, Hat Yai, Songkhla, Thailand, pp.97-101.


Samala, S. and Te-chato, S. 2011, Effects of colchicines treatments on physiological characteristics of secondary somatic embryos of oil palm in vitro. Proceedings of the 7th IMT-GT UNINET and the 3rd International PSU-NUS Conferences on Bioscience. Held at PSU, Hat Yai, Songkhla, Thailand, pp. 92-96.


Thongtape, K. and Te-chato, S. 2011. Physical and chemical factors affecting growth and development of embryogenic callus of oil palm. Proceedings of the 7th IMT-GT UNINET and the 3rd International PSU-NUS Conferences on Bioscience. Held at PSU, Hat Yai, Songkhla, Thailand, pp. 87-91.


วิทยา พรหมมี และสมปอง เตชะโต. 2540. การปรับปรุงพันธุ์มังคุดในหลอดทดลองโดยใช้รังสีแกมมา. การประชุมวิชาการครั้งที่ 14 เรื่องเทคนิคของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ณ ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ.นครปฐม หน้า 38-48.


Te-chato, S. 1997. Effect of explant types on meristematic nodular callus formation from young leaves of mangosteen. The 14th Conference on Methodological Techniques in Biological Sciences. Held at Central Laboratory and Greenhouse Complex, KURDI, Kasetsart Univ. Kamphaengsaen Campus, Nakhon Pathom 11 December.pp.29-37.


Te-chato, S. and M. Lim. 1996. Micropropagation of mangosteen through young leaf culture. Proceeding of the 13th Conference on Methodological Techniques in Biological Sciences. Central Laboratory and Greenhouse Complex. pp. 55-64.