รองศาสตราจารย์ ดร.ระวี เจียรวิภา
(Associate Professor Dr. Rawee  Chiarawipa)

วุฒิการศึกษา

วท.บ. (พืชศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วท.ม. (พืชศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Ph.D. (Pomology) China Agricultural University (China)


สาขาที่เชี่ยวชาญ

นิเวศสรีรวิทยาพืช (Plant Ecophysiology)


ภาระงานสอน

ระดับปริญญาตรี

514-376 สรีรวิทยาและการจัดการก่อนและหลังการ เก็บเกี่ยวพืชปลูก (CROP PHYSIOLOGY OF PREHARVEST AND POSTHARVEST)

ระดับปริญญาโท

510-521 สรีรวิทยาขั้นสูงของพืชปลูก (Advanced Crop Physiology) 

510-621 นิเวศเกษตรและการปรับตัวของพืชปลูก (AGROECOLOGY AND CROP ADAPTATION)


งานหลักสูตร (Curriculum Committee)

ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรเกษตรเขตร้อน (2564-ปัจจุบัน)

ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการผลิต เทคโนโลยีและการจัดการยางธรรมชาติ (หลักสูตรนานาชาติ) (2561-2562)

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (2560-2561)

อาจารย์ประจำหลักสูตร ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพืชศาสตร์ (2556-ปัจจุบัน)

อาจารย์ประจำหลักสูตร สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรเกษตรเขตร้อน คณะทรัพยากรธรรมชาติ (2557-ปัจจุบัน)

อาจารย์ประจำหลักสูตร สาขาวิชาการผลิต เทคโนโลยีและการจัดการยางธรรมชาติ (หลักสูตรนานาชาติ) (2557-2564)


โครงการวิจัย (2560-ปัจจุบัน) (Research Projects II: 2017-Present)

2567 : การประเมินศักยภาพการเจริญเติบโตและประสิทธิภาพการใช้น้ำของไม้ผลเขตร้อนในระบบพืชร่วมยางพาราแบบขยายแถว (หัวหน้าโครงการ) 

2567 : อิทธิพลของระบบพืชร่วมยางพาราและสารเคมีเร่งน้ำยางต่อคุณภาพผลผลิตน้ำยาง (หัวหน้าโครงการ) 

2566 : การประเมินศักยภาพการกักเก็บคาร์บอนและการชดเชยคาร์บอนเครดิตแบบสมัครใจในสวนยางพารา (หัวหน้าโครงการ)

2566 : Strengthening Sustainable Wetland Agriculture for Resilient Farmers’ Livelihoods and Ecosystems (หัวหน้าโครงการ)

2566 : รูปแบบการผลิตกาแฟโรบัสตาร่วมยางพาราในสวนยางพาราระยะก่อนและหลังเปิดกรีด (หัวหน้าโครงการ)

2566 : อิทธิพลของแนวทางปฏิบัติการจัดการสวนแบบเกษตรอินทรีย์ต่อคุณภาพน้ำยางและคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินในสวนยางพารา
(หัวหน้าโครงการ)

2566 : ผลของการให้ปุ๋ยเคมีต่อการเจริญเติบโตและองค์ประกอบผลผลิตใบพืชกระท่อม (Mitragyna speciosa (Koryh.) Havil.) (หัวหน้าโครงการ)

2565 : การเพิ่มศักยภาพการผลิตและการอนุรักษ์พันธุ์พืชเครื่องดื่ม (กาแฟโรบัสต้าและโกโก้) ในภาคใต้ของประเทศไทย (หัวหน้าชุดโครงการ)

   : การจำแนกความหลากหลายทางพันธุกรรมและลักษณะทางกายภาพของเมล็ดกาแฟโรบัสต้าในภาคใต้ (หัวหน้าโครงการย่อย)

2565 : วิเคราะห์สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและการประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มมุลค่าพืชโกโก้

  : อิทธิพลของฤดูกาลเก็บเกี่ยวต่อปริมาณสารพฤกษเคมีและคุณภาพเมล็ดโกโก้ (หัวหน้าโครงการย่อย)

2565-2567 : การผลิตพืชกระท่อมคุณภาพภายใต้มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (ผู้ร่วมวิจัย)

2565 : การเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพในสวนยางเพื่อบรรเทาผลกระทบจากราคายางตกต่ำและการระบาดของโควิด 19 (ผู้ร่วมวิจัย)

2564 : การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการผลิตพืชกระท่อม (หัวหน้าชุดโครงการ)

2564 : การผลิตโกโก้คุณภาพเพื่อสร้างอัตลักษณ์และเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์อย่างยั่งยืน (หัวหน้าชุดโครงการ)

2564 : การสร้างนวัตกรรมอาชีพการเกษตร เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและบรรเทาผลกระทบจากโควิด-19 พื้นที่จังหวัดสงขลา (สงขลาโมเดล)

   : แนวทางการจัดการและเทคโนโลยีปุ๋ยอินทรีย์และสารปรับปรุงดินเพื่อลดต้นทุนการใช้ปุ๋ยเคมีในสวนยางพารา (หัวหน้าโครงการย่อย)

2564 : การวิจัยและพัฒนาการใช้สมุนไพรกระท่อมในการเลี้ยงแพะ (ผู้ร่วมวิจัย)

2564 : การศึกษาการเจริญเติบโตของกาแฟที่ปลูกร่วมยาง (ระยะที่ 1) (ผู้ร่วมวิจัย)

2563 : การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชปลูกด้วยระบบสื่อสารไร้สายพลังงานต่ำ (หัวหน้าโครงการ)

2563 : โครงการพัฒนาขีดความสามารถทางเทคโนโลยีและวิจัยของภาคเอกชนในพื้นที่ (IRTC) (หัวหน้าโครงการ)

2563 : การพัฒนาชุดเซนเซอร์วัดการคายน้ำของพืชชนิดสมดุลความร้อนและระบบควบคุมการให้น้ำในแปลงปลูกพืช (ผู้ร่วมวิจัย)

2563 : การเพิ่มศักยภาพการผลิตกาแฟโรบัสต้าเชิงอัตลักษณ์เพื่อพัฒนาอาชีพและสร้างรายได้สู่เกษตรกร (หัวหน้าโครงการ)

2563 : เทคนิคการชักนำต้นพืชใหม่ต่อศักยภาพการเจริญเติบโตของพืชสกุลกัญชา (Cannabis spp.) (ผู้ร่วมวิจัย)

2562 : การพัฒนาและผลิตกาแฟเชิงอัตลักษณ์ของชุมชนในตำบลเขาชัยสน อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง(หัวหน้าชุดโครงการ)

  : การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตภัณฑ์เชิงอัตลักษณ์ของชุมชน (หัวหน้าโครงการวิจัยย่อย)

2562 : การจัดการสวนยางพาราไทยอย่างยั่งยืนตามหลักมาตรฐานสากล FSC

   : การสำรวจความหลากหลายของพืชพรรณในสวนยางพาราทางภาคใต้ของไทย (หัวหน้าโครงการวิจัยย่อย)

   : การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสวนยางโดยการปลูกพืชแซมด้วยสมุนไพร (ผู้ร่วมวิจัย)

2561 : การปรับปรุงต้นน้ำของห่วงโซ่การผลิตยางพาราภายใต้สภาวะวิกฤตราคายางตกต่ำ (หัวหน้าชุดโครงการ)

   : ความหลากหลายและศักยภาพการเจริญเติบโตของพืชวงศ์ปาล์มภายใต้สภาพแวดล้อมสวนยางพาราในภาคใต้ (หัวหน้าโครงการวิจัยย่อย)

2559-2560 : การใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ประเมินศักยภาพการกักเก็บคาร์บอนและคาร์บอนเครดิตในสวนยางพาราทางภาคใต้ของประเทศไทย
  (หัวหน้าโครงการวิจัย)


โครงการวิจัย (Research Projects I)

2559 : การปรับปรุงการปลูกพืชอาหารสัตว์ในสวนยางพาราเพื่อการควบคุมวัชพืชและผลิตอาหารเลี้ยงแพะ(หัวหน้าโครงการวิจัย)

2558-2559 : การชดเชยปริมาณปุ๋ยเคมีโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์และสารปรับปรุงดินต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตยางพาราที่ปลูกสละเป็นพืชร่วม
  (หัวหน้าโครงการวิจัย)

2558-2559 : การปรับตัวลักษณะทางฟีโนไทป์และศักยภาพการเจริญเติบโตของต้นกาแฟโรบัสต้าที่ปลูกร่วมสวนยางพาราในจังหวัดสตูล (หัวหน้าโครงการวิจัย)

2558 : การใช้มินิไรโซตรอนในการประเมินการเจริญเติบโตของรากยางพาราเพื่อการจัดการสวนอย่างเหมาะสมภายใต้ภูมิอากาศแปรปรวน (ผู้ร่วมวิจัย)

2558-2560 : การเร่งการเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตทุเรียนเทศโดยใช้เทคนิคการต่อกิ่งบนต้นตอ (ผู้ร่วมวิจัย)

2557-2560 : การร่นระยะเวลาในการเจริญเติบโตและการชักนำการออกดอกต้นศรีตรัง (หัวหน้าโครงการวิจัย)

2557-2558 : ความผันแปรของสภาพอากาศในฤดูกาลต่อการให้ผลผลิตและคุณภาพปาล์มน้ำมัน (หัวหน้าโครงการวิจัย)

2557 : การร่นระยะเวลาในการผลิตต้นกล้าปาล์มน้ำมันภายใต้ระบบโรงเรือน (หัวหน้าโครงการวิจัย)

2557 : การพัฒนาอุปกรณ์บันทึกภาพรากของพืชในเชิงพาณิชย์ (ผู้ร่วมวิจัย)

2557 : โครงการสำรวจผลผลิตต่อไร่ต่อปีของเกษตรกรในความดูแลของสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง (ผู้ร่วมวิจัย)

2551-2553 : การปรับปรุงระบบกรีดเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำยางของยางพารา (ผู้ร่วมวิจัย)

2551-2553 : การทดสอบยืดอายุการเก็บรักษาลองกองและการใช้ 1-MCP ต่อการเก็บรักษาลองกอง (ผู้ร่วมวิจัย)

2551-2552 : การทดสอบเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพผลผลิตลองกองในพื้นที่จังหวัดสงขลา(ผู้ร่วมวิจัย)

2551 : การประเมินศักยภาพการเจริญเติบโตและผลผลิตของยางพาราและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจปลูกยางพาราในพื้นที่นาร้าง
  (หัวหน้าโครงการวิจัย)

2551 : การปลูกหญ้าแฝกเพื่อควบคุมความชื้นในดินของสวนมังคุดในจังหวัดระนอง (ผู้ร่วมวิจัย)

2550 : ศึกษาการกระตุ้นการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางลำต้นของต้นกล้ายางพารา (หัวหน้าโครงการวิจัย)

2549-2551 : ศึกษาอิทธิพลสภาพแวดล้อมต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักหวานป่า (ผู้ร่วมวิจัย)

2549 : การใช้แบบจำลองการผลิตพืชเพื่อการประเมินปริมาตรไม้และมวลชีวภาพเหนือพื้นดินของยางพารา (ผู้ร่วมวิจัย)


ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (2565-ปัจจุบัน)/(2022-Present)

Phromchan, W., Defri, I., Saensano, C., Chookaew, A., Chiarawipa, R. and Sriwiriyajan, S. 2024. Morphological and physiological properties of
kratom (Mitragyna speciosa) leaves: Macronutrients, phytochemicals, antioxidants, and mitragynine content. Plant Science Today 11(2):
762-770. https://doi.org/10.14719/pst.2991 WoS (ISI; ESCI), Scopus, Q3, IF= 1.038 (2022)

Chiarawipa, R., Somboonsuke, B., Wandao, S., Thongsong, A. and Jirakajohnkool, S. 2024. Investigating drivers impacting carbon stock and carbon
offset in a large-scale rubber plantation in the middle south of Thailand. Tropical Life Sciences Research 35(1): 139–157.
https://doi.org/10.21315/tlsr2024.35.1.8 WoS (ISI; ESCI), Scopus, Q2, IF= 1.717 (2022)

Chumthong, A., Limjumrern, N., Saensano, C., Teerawattanapong, P., Nualla-ong, A., Rugkong, A. and Chiarawipa, R. 2024. Effect of Harvest Season
on the Physical Properties, Fatty Acid Composition, and Volatile Compounds of Roasted Cacao Beans. Makara Journal of Science 28(1):
1-8. https://doi.org/10.7454/mss.v28i1.2187 WoS (ISI; ESCI), Scopus, Q3, IF= 1.129 (2022)

Sundari, U.Y., Tawaffani, Q., Chiarawipa, R. and Defri, I. 2023. A review of parameters, performance models, and applications of biofiltration
technology in reducing h2s compounds in the air. Agroindustrial Technology Journal 7(3): 46-65.
http://dx.doi.org/10.21111/atj.v7i3.10746

Defri, I., Handoko, Nualla-Ong, A. and Chiarawipa, R. 2023. Prediction of phytochemicals as potential herbal antioxidants in Kratom (Mitragyna
speciosa) leaves : An in silico approach. Khon Kaen Agriculture Journal 51(Suppl. 3): 91-96. (TCI 1)

Maxiselly, Y., Maulana, H., Chumthong, A. and Chiarawipa, R. 2023. Relationship analysis based on phytochemical contents among coffee pulp from
three coffee species collected in Southern Thailand and Jambi, Indonesia. Biodiversitas 24(10): 5439-5445.
DOI: 10.13057/biodiv/d241026. WoS (ISI; Zoological Record), Scopus, Q3, IF= 1.499 (2022)

Lhaemwanich, K., Somboonsuke, B., Boonkongma, M., Preuksa, N., Chiarawipa, R., Kongmanee, C. and Potikul, P. 2023. The covid-19 pandemic
effect to livelihood strategy adaptation of rubber smallholding household: a case study in Songkhla province, the southern Thailand.
International Journal of Agricultural Extension 11(1): 63-77. DOI: 10.33687/ijae.011.001.4478, Scopus (IF= 0.44)

Chiarawipa, R., Teerawattanapong, P. and Chanjula, P. 2023. Utilization of forage crops as an effective and eco-friendly method for weed growth
                control and distribution in an immature rubber plantation. Mindanao Journal of Science and Technology 21(1): 141-164. WoS (ISI; ESCI),
                Scopus, Q4, IF= 0.484 (2022)

Zaw, Z.N., Musigapong, P., Chiarawipa, R., Pechkeo, S. and Chantanaorrapint, A. 2023. Acclimatization of tropical palm species associated with leaf
morpho-physiological traits to the understorey environment of Hevea rubber farms. Pertanika Journal of Tropical Agricultural Science
46(1): 107-128. DOI: https://doi.org/10.47836/pjtas.46.1.07 WoS (ISI; ESCI), Scopus, Q3, IF= 1.021 (2021)

Maxiselly, Y., Anusornwanit, P., Rugkong, A. and Chiarawipa, R. 2022. Phytochemical analysis of leaves and cherries of coffee and sensory
evaluation of tea products of Robusta coffee in Songkhla, Thailand. Agrivita 44(3): 470-478. WoS (ISI; ESCI), Scopus, Q3, IF= 1.050 (2021)

Maxiselly Y., Chiarawipa, R., Somnuk, K., Hamchara, P., Cherdthong, A., Suntara, C., Prachumchai, R. and Chanjula, P. 2022. Digestibility, blood
parameters, rumen fermentation, hematology, and nitrogen balance of goats after receiving supplemental coffee cherry pulp as a source
of phytochemical nutrients. Veterinary Sciences 9(10):532. https://doi.org/10.3390/vetsci9100532. WoS (ISI; SCIE), Scopus, Q1,
IF= 2.518 (2021)

Maxiselly, Y., Anusornwanit, P., Rugkong, A., Chiarawipa, R. and Chanjula, P. 2022. Morpho-physiological traits, phytochemical composition, and
antioxidant activity of canephora coffee leaves at various stages. International Journal of Plant Biology 13(2):106-114.
https://doi.org/10.3390/ijpb13020011. WoS (ISI; Biological Abstracts), Scopus, Q4, IF= 0.800 (2021)

Zaw, Z.N., Chiarawipa, R. and Sdoodee, S. 2022. Hevea rubber physiological status and relationships under different rubber-based intercropping
systems. Songklanakarin Journal of Science and Technology 44(1): 6-12. WoS (ISI; Zoological Record), Scopus, Q3, IF= 0.602 (2021)

Zaw, Z.N., Chiarawipa, R., Pechkeo, S. and Saelim, S. 2022. Complementarity in rubber-salacca intercropping system under integrated fertilization
mixed with organic soil amendments. Pertanika Journal of Tropical Agricultural Science 45(1):  153-170. DOI: 10.47836/pjtas.45.1.09.
WoS (ISI; ESCI), Scopus, Q3, IF= 1.021 (2021)

Panklang, P., Thaler, P., Thoumazeau, A., Chiarawipa, R., Sdoodee, S. and Brauman, A. 2022. How 75 years of rubber monocropping affects soil
fauna and nematodes as the bioindicators for soil biodiversity quality index. Acta Agriculturae Scandinavica, Section B — Soil & Plant
Science 72(1): 612-622. https://doi.org/10.1080/09064710.2022.2034930 WoS (ISI; SCIE), Scopus, Q2, IF= 2.159 (2021)

Panklang, P., Thoumazeau, A., Chiarawipa, R., Sdoodee, S., Sebag, D., Gay, F., Thaler, P. and Brauman, A. 2022. Rubber, rubber and rubber: how 75
years of successive rubber plantations rotations affect topsoil quality. Land Degradation and Development 33(8): 1159-1169.
https://doi.org/10.1002/ldr.4171  WoS (ISI; SCIE), Scopus, Q1, IF= 4.772 (2021)

Chanjula, P., Wungsintaweekul, J., Chiarawipa, R., Phesatcha, K., Suntara, C., Prachumchai, R., Pakdeechanuan, P. and Cherdthong, A. 2022. Effects
                of supplementing finishing goats with Mitragyna speciosa (Korth) Havil leaves powder on growth performance, hematological parameters,
carcass composition, and meat quality. Animals, 12, 1637. https://doi.org/10.3390/ani12131637
WoS (ISI; SCIE), Scopus, Q1, IF= 3.142 (2021)

Chanjula, P., Wungsintaweekul, J., Chiarawipa, R., Rugkong, A., Khonkhaeng, B., Suntara, C. and Cherdthong, A. 2022. Effect of feed supplement
                containing dried kratom leaves on apparent digestibility, rumen fermentation, serum antioxidants, hematology and nitrogen balance in
                goats. Fermentation 8(3) 131: https://doi.org/10.3390/fermentation8030131. WoS (ISI; SCIE), Scopus, Q1, IF= 4.974 (2021)

Kongmanee, C., Somboonsuke, B., Boonkongma, M., Wettayaprasit, P., Chiarawipa, R., Sae-chong, K., Thatthong, K. and Prapatigul, P. 2022.
The Livelihood adjustment of smallholding rubber farming systems (SRFS) in Southwestern Thailand: Case Study in Ranong, Krabi,
Phangnga, and Phuket Provinces. Forest and Society 6(1): 202-225. DOI: 10.24259/fs.v6i1.14159 WoS (ISI; ESCI), Scopus, Q2,
IF= 2.898 (2021)

อนุธิดา ชูแก้ว, ปฐมพงศ์ วงษ์เลี้ยง และ ระวี เจียรวิภา. 2565. การกระตุ้นการเจริญเติบโตของต้นกล้าปาล์มน้ำมันในระยะอนุบาลหลักโดยใช้ระบบไฮโดรโพนิกส์.
แก่นเกษตร 50 (ฉบับเพิ่มเติม 1): 219-223. TCI1

บุญฑริกา กุลศิลป์, ภานุวิทย์ กล้าหาญ, สุรชาติ เพชรแก้ว และ ระวี เจียรวิภา. 2565. การใช้กล้องถ่ายความร้อนอินฟราเรดเพื่อประเมินอุณหภูมิทรงพุ่มของ
กาแฟโรบัสตาในสภาพร่มเงาและกลางแจ้ง. แก่นเกษตร 50 (ฉบับเพิ่มเติม 1): 224-231. TCI1

เวธนี พรหมจันทร์, อดิเรก รักคง และ ระวี เจียรวิภา. 2565. ผลของไคโตซานและอุณหภูมิต่อการยืดอายุการเก็บรักษาใบพืชกระท่อม (Mitragyna speciosa
(Korth.) Havil). วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 30(5): 80-91. TCI1


ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Publications) (2019-2021)

Chiarawipa, R., Rueangkhanab, M., Han, Z.H. 2021. Leaf Age-related Acclimation in the Photosynthetic Capacity and Fractional Investments of
Leaf Nitrogen in Grapevines of Different Ages. Science & Technology Asia 26(3): 99-113.

Chiarawipa, R., Suteekanjanothai, P. and Somboonsuke, B. 2021. Adaptive ecophysiological characteristics of leaves and root distribution of
Robusta coffee saplings in relation to rubber ages under an intercropping system. Journal of Agricultural Science and Technology 23(2):
387-402.

Ketchart, P., Wongvarodom, V., Sdoodee, S. and Chiarawipa, R. 2021. Effects of different container structures on growth and root architecture
of rubber (Hevea brasiliensis) rootstock seedlings. Maejo International Journal of Science and Technology 15(1): 27-36.

พันธุ์ทิพย์ ปานกลาง, ระวี เจียรวิภา, สายัณห์ สดุดี, Thoumazeau, A. และ Brauman, A. 2564. ผลของรอบการปลูกยางพาราต่อสมบัติบางประการของดิน
และปริมาณคาร์บอนในดิน. แก่นเกษตร 49(4): 789-798.

ชุติกาญจน์ แสนเสนาะ วันดี อินทร์เจริญ เสาวภา ด้วงปาน และระวี เจียรวิภา. 2564. การเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของกาแฟอราบิกาและโรบัสตา
ในจังหวัดสงขลา. ว. วิทย์. กษ. 52(1)(พิเศษ): 217-220.

นัฐริษา ลิ่มจำเริญ อดิเรก รักคง สุภาณี ชนะวีรวรรณ และระวี เจียรวิภา. 2564. ผลของอุณหภูมิและอายุการเก็บรักษาต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางสรีรวิทยา
และคุณภาพของผลโกโก้. ว. วิทย์. กษ. 52(1)(พิเศษ): 253-256.

ระวี เจียรวิภา และพรเทพ ธีระวัฒนพงศ์. 2564. ผลกระทบทางนิเวศสรีรวิทยาต่อกาแฟโรบัสตาที่ปลูกร่วมในสวนยางพารา. ว. ยางพารา 42(1): 14-25.

Chiarawipa, R., Thongna, K. and Sdoodee, S. 2020. Assessing impact of weather variability and changing climate on oil-palm yield in major growing
regions of southern Thailand. Journal of Agrometeorology 22(3): 274-284.

Andriyana, Y., Thaler, P., Chiarawipa, R. and Sopharat, J. 2020. On-farm effect of bamboo intercropping on soil water content and root distribution
in rubber tree plantation. Forests Trees and Livelihoods DOI: 10.1080/14728028.2020.1798818

Chhim, D., Somboonsuke, B. and Chiarawipa, R. 2019. The Study of Rubber Tapping Technology Quality in Memot Rubber Plantation Co., Ltd.
International Journal of Agricultural Technology 15(1): 1-16.

Saelim, S., Sdoodee, S. and Chiarawipa, R. 2019. Monitoring Seasonal Fine Root Dynamics of Hevea brasiliensis Clone RRIM 600 in Southern
Thailand using Minirhizotron Technique. Songklanakarin Journal of Science and Technology 41(2): 341-348.

ระวี เจียรวิภา. 2562. พืชร่วมในสวนยางพาราทางภาคใต้ของประเทศไทย: ผลกระทบและรูปแบบการปลูกอย่างยั่งยืน. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า 37(1):
179-189.

ณัฐวิทย์ ญาณพิสิฐกุล ระวี เจียรวิภา และสุรชาติ เพชรแก้ว. 2562. การเปลี่ยนแปลงทางสัณฐานและสรีรวิทยาภายใต้สภาวะร่มเงาและตำแหน่งคู่ใบของใบ
กาแฟโรบัสต้า. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 27(6): 1046-1057.

พรเทพ ธีระวัฒนพงศ์ ระวี เจียรวิภา ปิ่น จันจุฬา และพันธุ์ทิพย์ ปานกลาง. 2562. การเจริญเติบโตและผลผลิตของหญ้าอาหารสัตว์พื้นเมืองในสวนยางพารา
ระยะก่อนเปิดกรีดและศักยภาพในการเสริมรายได้. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 27(5): 889-903.


ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Publications) (2016-2018)

ปิยะนุช มุสิกพงศ์ ระวี เจียรวิภา และอมรรัตน์ จันทนาอรพินท์. 2561. ความหลากหลายของพืชพรรณในสวนยางพาราทางภาคใต้ของประเทศไทย:
การใช้ประโยชน์และมูลค่าทางเศรษฐกิจในระบบพืชร่วมยางพารา. ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 5 (3): 36-51.

ปิยะนุช มุสิกพงศ์ ระวี เจียรวิภา สุรชาติ เพชรแก้ว และอมรรัตน์ จันทนาอรพินท์. 2561. การเปลี่ยนแปลงในฤดูกาลต่อลักษณะสัณฐานและสรีรวิทยาของใบสละ
ภายใต้ร่มเงาสวนยางพารา. ว. วิทย์. กษ. 49(2)(พิเศษ): 281-284.

Rattana, U., Nissapa, A. and Chiarawipa, R. 2017. Climatic considerations which support the choice between natural rubber and oil palm in
Nakorn Si Thammarat, southern Thailand. Kasetsart Journal of Social Sciences 38: 273-281.

พงศกร สุธีกาญจโนทัย ระวี เจียรวิภา บัญชา สมบูรณ์สุข และชนินทร์  ศิริขันตยกุล. 2560. ผลของการใส่ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยคอกต่อการเจริญเติบโตของต้นกาแฟ
โรบัสต้าในสวนยางพารา. ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 4 (4): 25-31.

วรัญญู ขวดหรีม และระวี เจียรวิภา. 2560. ผลของการควบคุมทรงพุ่มต่อการเจริญเติบโตและการออกดอกของต้นกล้าศรีตรัง. แก่นเกษตร 45 (พิเศษ 1) :
1203-1208.

ณัฐวิทย์ ญาณพิสิฐกุล และระวี เจียรวิภา. 2560. เทคนิคการประเมินพัฒนาการของรากต้นกล้ายางพาราในไรโซบอกโดยการประมวลภาพถ่ายดิจิตอล.
แก่นเกษตร 45 (พิเศษ 1) : 1136-1141.

จักรพงศ์ จิระแพทย์ ทัศนี ขาวเนียม สมปอง เตชะโต และระวี เจียรวิภา. 2559. ชีพลักษณ์การเจริญเติบโตของทุเรียนเทศ โดยการใช้ระบบ BBCH-scale.
ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 3 (ฉบับพิเศษ I): M04/87-92.

วรัญญู ขวดหรีม, อมรรัตน์ จันทนาอรพินท์, ขวัญตา ขาวมี และระวี เจียรวิภา. 2559. ผลของสารพาโคลบิวทราโซลต่อการเจริญเติบโตและการออกดอก
ของต้นศรีตรังในกระถาง. ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 3: 18-22.

พรเทพ ธีระวัฒนพงศ์, รวีย์รัชต์ รักขันธ์, มนตรี แก้วดวง และระวี เจียรวิภา. 2559. การให้ปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ต่อการเจริญเติบโตและการผลิใบใหม่
ของต้นทุเรียนเทศ. ว. พืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 3: 29-33.


ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Publications) (2012-2015)

ระวี เจียรวิภา และ ชนินทร์  ศิริขันตยกุล. 2558. การปรับตัวลักษณะฟีโนไทป์ของต้นกาแฟโรบัสต้าภายใต้สวนไม้ผลผสมผสาน. ว. วิทย์. กษ. 46 (3)(พิเศษ):
433-436.

ระวี เจียรวิภา และ Han, Z.H. 2558. ปัจจัยจำกัดของอุณหภูมิใบต่อประสิทธิภาพการสังเคราะห์แสงในใบองุ่น. ว. วิทย์. กษ. 46 (3)(พิเศษ): 437-440.

ระวี เจียรวิภา อนุธิดา ชูแก้ว และ ธีระ เอกสมทราเมษฐ์. 2558. ผลของวัสดุปลูกดินผสมต่อการเจริญเติบโตทางลำต้นและรากของต้นกล้าปาล์มน้ำมัน. ว. วิทย์.
กษ. 46 (3)(พิเศษ): 549-552.

มนต์สรวง เรืองขนาบ ระวี เจียรวิภา อุดร เจริญแสง และ Han, Z.H. 2557. การประเมินมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนในสวนส้ม. แก่นเกษตร 42 (พิเศษ 2):
345-353.

ระวี เจียรวิภา และ วิทยา พรหมมี. 2556. ความสัมพันธ์ด้านอายุต่อปริมาณคาร์โบไฮเดรต ผลผลิตน้ำยาง ธาตุอาหารหลัก องค์ประกอบทางเคมี และคุณสมบัติ
เชิงกลและกายภาพของต้นยางพารา. ว. วิจัย มข. 18 (3): 449-463.

Chiarawipa, R., Wang, Y., Zhang, X.Z., Han, Z.H. 2013. Growing season carbon dynamics and stocks in relation to vine ages under a vineyard
agroecosystem in northern China. Am. J. Plant Physiol. 8 (1): 1-16.

Rueangkhanab, M., Chiarawipa, R., Wang, Y., Zhang, X.Z., Xu, X.F. and Han, Z.H. 2012. Soil water supply during dry weather constraint of sweet
orange (Citrus sinensis L. Osb.) seedlings in response to gas exchanges, photosynthetic functions, leaf carbohydrate contents and
biomass production. Am. J. Plant Physiol. 7 (6): 232-242.

Chiarawipa, R., Wang, Y., Zhang, X.Z., Han, Z.H. and Rueangkhanab, M. 2012. Modeling light acclimation of photosynthetic response in different
ages of vine leaves. Acta Hort. (ISHS) 956: 255-260.

Chiarawipa, R., Wu, T. and Han, Z.H. 2012. Observed monthly temperature and precipitation trends in the major grape-producing regions in China.
Acta Hort. (ISHS) 931: 79-86.

Wu, T., Wang, Y., Yu, C.J., Chiarawipa, R., Zhang, X.Z., Han, Z.H. and Wu, L.H. 2012. Carbon Sequestration by Fruit Trees: Chinese apple orchards
as an example. PLoS ONE 7 (6): e38883. doi:10.1371/journal.pone.0038883.

ระวี เจียรวิภา สุรชาติ เพชรแก้ว มนตรี แก้วดวง และ วิทยา พรหมมี. 2555. การประเมินการเก็บกักคาร์บอนและรายได้จากการชดเชยคาร์บอนในสวนยางพารา.
ว. วิทยาศาสตร์บูรพา 17 (2): 91-102.

ระวี เจียรวิภา มนต์สรวง เรืองขนาบ และ อมรรัตน์ บัวคล้าย. 2555. ความหลากหลายของพืชกลุ่มเฟินและการเจริญเติบโตของชายผ้าสีดาปักษ์ใต้
(Platycerium coronarium J.G. Koen.ex. Muell, Desv) ในสวนปาล์มน้ำมัน. ว. เกษตรพระจอมเกล้า 30 (1): 32-42.


ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (Publications) (2002-2010)

ระวี เจียรวิภา มนตรี แก้วดวง และสายันต์ ตันพานิช. 2553. การพัฒนาการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักหวานป่าในภาคใต้ของประเทศไทย. ว. วิจัย มข. 15
(10): 941-950

ระวี เจียรวิภา และ อิบรอเฮม ยีดำ. 2553. การเจริญเติบโตและผลผลิตของยางพารา (Hevea brasiliensis Muell. Arg.) ในพื้นที่นาร้างและพื้นที่ดอน.
ว. วิชาการเกษตร 28 (1): 58-74.

มนต์สรวง เรืองขนาบ สุจินต์ แม้นเหมือน กฤษดา สังข์สิงห์ และ ระวี เจียรวิภา. 2553. การตอบสนองทางสรีรวิทยาและการเจริญเติบโตของต้นกล้าปาล์มน้ำมัน
(Elaeis guineensis Jacq.) ต่อสภาวะน้ำท่วมขัง. ว. วิชาการเกษตร 28(1): 43-57.

ระวี เจียรวิภา และ สมยศ จิรสถิตสิน. 2552. การพัฒนาวิธีการวัดพื้นที่ใบ ความสูงต้นและความยาวรากของต้นกล้ายางพาราด้วยโปรแกรมประมวลผลภาพดิจิตอล.
ว. เกษตรพระจอมเกล้า 27 (1): 34-41.

ระวี เจียรวิภา อมรรัตน์ บัวคล้าย และ Zheng, M.X. 2552. ความหลากหลายของพืชกลุ่มเฟินและปาล์มในสวนยางพาราทางภาคใต้ของประเทศไทย. ว. วิทย์. กษ.
40 (1) (พิเศษ): 517-520.

ระวี เจียรวิภา อิบรอเฮม ยีดำ และ สายัณห์ สดุดี. 2552. การประเมินปริมาตรไม้และน้ำยางพาราในเขตพื้นที่สงเคราะห์การทำสวนยางพารา อำเภอเทพา
จังหวัดสงขลา. ว.วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 17 (1): 66-77.

ระวี เจียรวิภา และ โอภาส วิเชียรคู่. 2551. ลักษณะทรงพุ่มและการเกิดตาดอกของต้นลองกองภายใต้ระยะการปลูกชิด.ว. วิทย์. กษ. 39 (3) (พิเศษ): 77-80.

ระวี เจียรวิภา อิบรอเฮม ยีดำ และ สายัณห์ สดุดี. 2551. การตัดสินใจโค่นล้มยางพาราโดยอาศัยมวลชีวภาพเหนือดินและอาการผิดปกติทางสรีรวิทยา.
ว. เกษตรพระจอมเกล้า 26 (2): 18-27.

ระวี เจียรวิภา. 2550. แบบจำลองการผลิตพืชและการประยุกต์ใช้ในยางพารา. ว. สงขลานครินทร์ วทท. 29 (3): 685-695.

ระวี เจียรวิภา และ สมยศ จิรสถิตสิน. 2550. การประเมินปริมาตรไม้ยางพาราโดยวิธีประมวลผลภาพดิจิตอล. ว. วิทย์. กษ.38 (6) (พิเศษ): 25-28.

ระวี เจียรวิภา อิบรอเฮม ยีดำ และ พิมพ์ภิลา ศุภเจริญกูล. 2550. สภาวะขาดน้ำต่อการ เจริญเติบโตและมวลชีวภาพของต้นกล้ายางพารา. ว. วิทย์. กษ. 38 (6)
(พิเศษ): 310-313.

ระวี เจียรวิภา อิบรอเฮม ยีดำ และ วัชรีพร นาคทุ่งเตา. 2550. ผลของการให้ปุ๋ยเคมีปุ๋ยอินทรีย์และสารปรับปรุงดินต่อการเจริญเติบโตและมวลชีวภาพของต้นกล้า
ยางพารา. ว. วิทย์. กษ. 38 (6) (พิเศษ): 314-317.

Sdoodee, S. and Chiarawipa, R. 2005. Regulating irrigation during pre-harvest to avoid the incidence of translucent flesh disorder and gamboge
disorder of mangosteen fruits. Songklanakarin J. Sci. Technol. 27 (5): 957-965.

สายัณห์ สดุดี และ ระวี เจียรวิภา. 2548. การเกิดผลแตกของส้มโชกุน (Citrus reticulata Blanco cv. Shogun) ในภาคใต้ของประเทศไทยและการบรรเทา
โดยการพ่นสารแคลเซียมและโบรอน. ว. สงขลานครินทร์ วทท. 27 (4): 719-730.

Sdoodee, S. and Chiarawipa, R. 2003. The effect of fruit position on fruit characteristics and the incidence of fruit disorders in mangosteen.
Thai J. Agric. Sci. 36 (3): 276-287.

ระวี เจียรวิภา สายัณห์ สดุดี และธีรวุฒิ ชุตินันทกุล. 2545. การลดผลกระทบของฝนต่ออาการเนื้อแก้วและยางไหลของผลมังคุด. ว. วิทย์. กษ. 33 (4-5) (พิเศษ):
215-218.

ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในเอกสารการประชุมวิชาการ (Proceedings) (2019-Present)

เบญจพร เซ่งเอียง, ชุติกาญจน์ แสนเสนาะ, อนุธิดา ชูแก้ว, อมรรัตน์ ชุมทอง และระวี เจียรวิภา. 2567. การเปรียบเทียบการเจริญเติบโตและผลผลิตของกาแฟสาย
พันธุ์โรบัสตาและอราบิกาในระบบพืชร่วมยางพาราทางภาคใต้ของไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เครือข่ายสถาบัน
อุดมศึกษาภาคใต้ ครั้งที่ 9 “วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนสังคมบนฐานเศรษฐกิจ BCG อย่างยั่งยืน” ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลศรีวิชัย จ.นครศรีธรรมราช 22-23 กุมภาพันธ์ 2567 หน้า 651-659.

เวธนี พรหมจันทร์, อนุธิดา ชูแก้ว, ชุติกาญจน์ แสนเสนาะ, บุญฑริกา กุลศิลป์, ธรรมนูญ หงส์อมตะ, ระวี เจียรวิภาและพรเทพ ธีระวัฒนพงศ์. 2565. การประเมิน
ดัชนีพืชพรรณด้วยภาพถ่ายหลายช่วงคลื่นของโดรนในไม้ผลยืนต้นเขตร้อน. การประชุุมวิิชาการพืชสวนแห่งชาติิ ครั้งที่ 19 “พืชสวนสมัยใหม่: เทคโนโลยี
และนวัตกรรม” ณ โรงแรมทวินโลตัส อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 24-25 พฤศจิกายน 2565 หน้า 260-267.

อมรรัตน์ ชุมทอง, ศุภวิชญ์ ชูเขียว, ชีวธันย์ ไพโรจน์, ชุติกาญจน์ แสนเสนาะ และ ระวี เจียรวิภา. 2565. ผลของการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ต่อการเจริญเติบโต
ของโกโก้ที่ปลูกในบ่อซีเมนต์. การประชุุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งทีj 19 “พืชสวนสมัยใหม่: เทคโนโลยีและนวัตกรรม” ณ โรงแรมทวินโลตัส
อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 24-25 พฤศจิกายน 2565 หน้า 160-167.

เอมฤดี มณีรัตน์, ชุติกาญจน์ แสนเสนาะ, ระวี เจียรวิภา และวิชัย หวังวโรดม. 2565. ผลของการจัดการสวนต่อลักษณะทางกายภาพและคุณภาพของเมล็ดกาแฟ
สารโรบัสตาที่ปลูกร่วมยางพารา. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาทักษิณ ครั้งที่ 33 ประจำปี 2565 “การวิจัยและนวัตกรรมสู่ระดับสากลบนฐาน
ท้องถิ่น” ณ โรงแรมทวินโลตัส อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช 22-23 สิงหาคม 2565 หน้า 65-72.

Maxiselly, Y., Anjasari, I.R.D., Sutari, W., Ariyanti, M.,Soleh, M.A., Sari, R.A. and Chiarawipa, R. 2021. Stimulation effect of synthetic plant growth
regulator (GA3 and BAP) on young cinchona plant (Cinchona ledgeriana) grown in lowland. IOP Conference Series Earth and
Environmental Science 743(1):012016. DOI: 10.1088/1755-1315/743/1/012016.

Chutikarn Saensano and Rawee Chiarawipa. 2019. Dynamic Diversity of Traditional Robusta Coffee (Coffea canephora) and Conservation Status
in Southern Thailand. 1st ASEAN Coffee Industry Development Conference, Chiang Mai, Thailand, February 14-17, 2019.

งานบริการวิชาการ (Academic & Community Services)

2567 : การกักเก็บคาร์บอนในสวนยางพาราเพื่อการชดเชยรายได้จากคาร์บอนเครดิตภาคสมัครใจ: กรณีศึกษา กลุ่มเกษตรกรคลองหอยโข่ง จ.สงขลา.
  โครงการ การประเมินศักยภาพการกักเก็บคาร์บอนและการชดเชยคาร์บอนเครดิตแบบสมัครใจในสวนยางพารา 23 เม.ย. 2567 (วิทยากรและผู้จัด)
  คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2567 : การผลิตกาแฟโรบัสตาเชิงคุณภาพและเชิงอัตลักษณ์  (18 มกราคม 2567) ณ เทศบาลเมืองคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา) (วิทยากร)

2566 : ศักยภาพการกักเก็บคาร์บอนในสวนยางพาราเพื่อการชดเชยรายได้จากคาร์บอนเครดิตภาคสมัครใจ (26 ก.ย. 66) การประชุมวิชาการยางพารา
  ครั้งที่ 2 ประจำปี 2566 ณ โรงแรมเอสดี อเวนิว กรุงเทพฯ โดย การยางแห่งประเทศไทย (วิทยากร)

2566 : การประเมินคุณภาพกาแฟ: “Coffee Cupping” (12 กันยายน 2566) ณ คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (วิทยากร)

2566 : Research and Development on Innovative Kratom Production in Thailan: A refreshing beverage  & Coffee Production in Southern
  Thailand: Identity Products, Department of Food Technology, UPN “Veteran” Jawa Timur, Surabaya, Indonesia (29 พ.ค. 67; Zoom)
  (วิทยากร)

2565 : สถานีวิทยุ ม.อ. หาดใหญ่ (FM 88 MHz) รายการ สภากาแฟ: การปลูกกาแฟในสวนยางพารา (25 พ.ค. 65 เวลา 10.00-11.00 น.)
  (ผู้ร่วมเสวนา) สามารถรับชมย้อนหลังได้ที่ https://youtu.be/CX6-HdCJcEk

2565 : เวทีนวัตกรรมวนเกษตรยางพาราภาคใต้ ครั้งที่ 2 (5 พ.ค. 65 เวลา 13.30-16.00 น.) (ออนไลน์) (ผู้ร่วมเสวนา)

2565 : การเพิ่มผลผลิตยางพาราด้วยนวัตกรรมการเก็บเกี่ยว: วิทยาการใหม่ทางด้านระบบกรีดและการอัดแก๊ส หลักสูตร “การเก็บเกี่ยว การแปรรูป
  และการตลาด” (24 พฤษภาคม 2565 ) คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (วิทยากร)

2565 : ความหลากหลายของพืชพรรณในสวนยางพารา หลักสูตร “การจัดการสวนยางพาราอย่างยั่งยืน” (19 เมษายน 2565 ) คณะทรัพยากรธรรมชาติ
  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (วิทยากร)

2565 : โครงการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรชาวสวนยางรุ่นใหม่ (Young smart farmer) (7-29 มีนาคม 2565) จ.เชียงราย และ จ. บุรีรัมย์
  การยางแห่งประเทศไทย และ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (วิทยากร)

2564 : เจ้าหน้าที่สอบในการเทียบโอนประสบการณ์การทำงานเพื่อการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพ (Recognition of Existing Skills and Knowledge
  Examiner: RESK Examiner) (ด้านยางพารา) สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)

2564 : คณะทำงานจัดทำชุดฝึกอบรมตามมาตรฐานอาชีพ (Training Packages) สาขาวิชาชีพเกษตรกรรม สาขาเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ อาชีพการแปรรูป
  ผลผลิตยางพารา โดยสมาคมอีเลิร์นนิงแห่งประเทศไทย 

2564 : คณะทํางานมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพสาขาวิชาชีพเกษตรกรรม สาขาสงเสริมการเกษตร อาชีพนักออกแบบนิเวศเกษตร
  โดยสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)

2564 : การอบรมเชิงปฏิบัติการ เทคนิคการชงและการสกัดกาแฟ (Brewing coffee) เบื้องต้น (1 มีนาคม 2564) คณะทรัพยากรธรรมชาติ
  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (วิทยากรและผู้จัด)

2564 : การอบรมเชิงปฏิบัติการ กิจกรรมขับเคลื่อนและพัฒนากาแฟโรบัสต้าสตูล โครงการส่งเสริมการผลิตกาแฟ (22-23 กุมภาพันธ์ 2564)
  พญาบังสารีสอร์ท อำเภอเมือง จังหวัดสตูล (วิทยากร)

2563 : การจัดอบรม การเพิ่มศักยภาพการผลิตกาแฟโรบัสต้าเชิงอัตลักษณ์ เพื่อพัฒนาอาชีพและสร้างรายได้สู่เกษตรกร (24-26 พฤศจิกายน 2563)
  คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (วิทยากรและผู้จัด)

2563 : การสัมมนาวิชาการ:  การพัฒนากาแฟสู่ความมั่นคงทางการเกษตรและการท่องเที่ยวจังหวัดสตูล ศาลากลางจังหวัดสตูล อำเภอเมือง จังหวัดสตูล
  (วิทยากร)

2562-ปัจจุบัน : บรรณาธิการ (Associate Editors) Songklanakarin Journal of Science and Technology (SJST)

2562 : การจัดอบรม “การจัดการสวน การแปรรูป และการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกาแฟ” วันอังคารที่ 13 สิงหาคม 2562 ณ ห้องประชุม 260
  คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (วิทยากรบรรยาย: การผลิตกาแฟในภาคใต้: โอกาสสร้างรายได้
  ของเกษตรกรและผู้ประกอบการ)

2562 : การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนานักวิชาการส่งเสริมการเกษตรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน” โครงการไม้ผลอัตลักษณ์ภาคใต้ ครั้งที่ 19
  มกราคม 2562 ณ โรงแรมแกรนด์ปาร์ค จังหวัดนครศรีธรรมราช (วิทยากรบรรยาย: สรีรวิทยาเพื่อเพิ่มผลผลิตและคุณภาพไม้ผล)

2561 : การปลูกกาแฟและการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกาแฟเพื่อสร้างรายได้. ใน “มหกรรมวิทย์สร้างอาชีพ ยกระดับภูมิภาค” 13-14 กันยายน 2561
  ม.หาดใหญ่ จ.สงขลา (วิทยากร)

2561 : โทรทัศน์ (ไทย พีบีเอส) รายการ ภูมิภาค 3.0 แลต๊ะแลใต้ : กาแฟ พืชทางเลือกเกษตรกรใต้ (19 ส.ค 61)

2561 : สถานีวิทยุ ม.อ. หาดใหญ่ (FM 88 MHz) รายการ สภากาแฟ: การปลูกกาแฟในภาคใต้ (5 ก.ย. 61 เวลา 10.00-11.00 น.)

2561 : การจัดทำคำขอสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ไทย สินค้ากาแฟกระบี่ (ที่ปรึกษา)  

2560-ปัจจุบัน : กลุ่มวิจัยกาแฟและโกโก้ (Coffee & Cocoa Research Group)

2560-ปัจจุบัน : คณะทำงานโครงการการจัดทำมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ โดยสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน): สาขาวิชาชีพเกษตรกรรม
  สาขาเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ อาชีพผู้ปฏิบัติงานด้านเพาะปลูกยางพารา (ผู้เชี่ยวชาญด้านการเพาะปลูกยางและเทคโนโลยียาง)

2560-2561 : หัวหน้าหน่วยวิจัยกาแฟโรบัสต้า (Robusta Coffee Research Unit)

2558 : การปลูกกาแฟแซมในสวนยาง ณ อ.ท่าแพ จ.สตูล สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางจังหวัดสตูล (24 มิ.ย. 58) (วิทยากร)

2557-ปัจจุบัน : กองบรรณาธิการ และฝ่ายดำเนินงานวารสาร วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์

2557-2562 : ผู้ช่วยบรรณาธิการ (Assistant Editors) Songklanakarin Journal of Science and Technology (SJST)

บทความวิชาการทั่วไป (Review Articles)

ระวี เจียรวิภา ขวัญตา ขาวมี อมรรัตน์ จันทนาอรพินท์ และวรัญญู ขวดหรีม. 2559. ศรีตรัง...ความงามที่น่าค้นหา. ลองแล...งานวิจัยใน ม.อ. 8.
สำนักวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์: 102-105.

ระวี เจียรวิภา และชนินทร์ ศิริขันตยกุล. 2558. กาแฟโรบัสต้าพันธุ์พื้นเมืองจังหวัดสตูล…คุณค่าที่ต้องอนุรักษ์ไว้ในชุมชน. ลองแล...งานวิจัยใน ม.อ.7.
สำนักวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์: 82-85.

ระวี เจียรวิภา. 2556. ท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่ปักกิ่งกับเทศกาลงานแอปเปิล. ว. มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 5(2): 157-160.

ระวี เจียรวิภา. 2549. ผลกระทบจากความแปรปรวนของฝนและการจัดการสวนไม้ผลในสภาวะแล้ง. ว. เคหการเกษตร 30 (4): 208-216.

รางวัลผลงานวิจัย (Research Award)

รางวัลนักวิจัยดีเด่นคณะ/วิทยาลัย ประจำปี 2566 (แผนโครงการวิจัย) 13 มีนาคม 2567 งานคุณค่าสงขลานครินทร์ (Pride of PSU) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

รางวัลนักวิจัยที่ผลงานวิจัยได้รับรางวัลระดับชาติ ผลงานสิ่งประดิษฐ์ เครื่องอบแห้งเมล็ดโกโก้ประหยัดพลังงานแบบถังหมุน รางวัลเหรียญเงิน ระดับอุดมศึกษา
กลุ่มพลังงาน วัสดุ และเคมีชีวภาพ (ผู้ร่วมวิจัย) 13 มีนาคม 2567 งานคุณค่าสงขลานครินทร์ (Pride of PSU) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

รางวัลเหรียญทอง ผลงานสิ่งประดิษฐ์ เรื่อง PSU-ARDA MINIRHIZOTRON จาก World Invention Intellectual Property Associations, “2015 Kaohsiung
International Invention and Design Expo” (KIDE 2015) ณ เมืองเกาซัง ประเทศไต้หวัน 4-6 ธันวาคม 2558 (ผู้ร่วมวิจัย)

ผลงานวิจัยดีเด่น ประจำปี 2552 กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่องการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตลองกองให้มีคุณภาพ
ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง (ผู้ร่วมวิจัย)

สิ่งประดิษฐ์และสิทธิบัตร (Invention & Patent)

อนุสิทธิบัตร "เครื่องบันทึกภาพรากพืชระบบอิเล็กทรอนิกส์" เลขที่ 12535 (ผู้ร่วมวิจัย)

หนังสือ/สื่อประกอบการสอน (ฺBook/Lecture Notes & Materials)

สายัณห์ สดุดี และ ระวี เจียรวิภา. 2565. โดรนและเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรแม่นยำ. สงขลา: คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 150 หน้า.

ระวี เจียรวิภา, อมรรัตน์ ชุมทอง, นันทิยา พนมจันทร์, สมพร นิลมณี และจักรกฤษณ์ หมั่นวิชา. 2565. คู่มือการผลิตกาแฟโรบัสตา: การจัดการสวน การแปรรูป
และผลิตภัณฑ์. สงขลา: คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 97 หน้า.

ระวี เจียรวิภา. 2564. นิเวศเกษตรสวนยางพารา (Rubber Agroecology). สงขลา: คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 242 หน้า.

ระวี เจียรวิภา สายัณห์ สดุดี และ เจษฎา โสภารัตน์. 2560. เอกสารคำสอน อุตุนิยมวิทยาการเกษตรและสภาวะโลกร้อน
(510-313). ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงขลา.

ระวี เจียรวิภา เจษฎา โสภารัตน์ เสาวภา ด้วงปาน และ ลดาวัลย์  เลิศเลอวงศ์. 2559. เอกสารคำสอน สรีรวิทยาการผลิตพืช (510-421).
ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ์ สงขลา.

ระวี เจียรวิภา เจษฎา โสภารัตน์ เสาวภา ด้วงปาน ลดาวัลย์  เลิศเลอวงศ์ และ ปฐมพงศ์ วงษ์เลี้ยง. 2559. บทปฏิบัติการ สรีรวิทยาการผลิตพืช (510-421).
ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงขลา.

ระวี เจียรวิภา วิชัย หวังวโรดม สุรีรัตน์  เย็นช้อน ทัศนี ขาวเนียม และ ลดาวัลย์  เลิศเลอวงศ์. 2559. เอกสารคำสอนหลักการขยายพันธุ์พืช (510-311).
ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงขลา.

ระวี เจียรวิภา วิชัย หวังวโรดม สุรีรัตน์  เย็นช้อน ทัศนี ขาวเนียม และ ลดาวัลย์  เลิศเลอวงศ์. 2559. บทปฏิบัติการหลักการขยายพันธุ์พืช (510-311).
ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงขลา.

ระวี เจียรวิภา. 2559. เอกสารคำสอน ยางพารา (510-451). ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงขลา.

ระวี เจียรวิภา. 2559. บทปฏิบัติการ ยางพารา (510-451). ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงขลา.

การถ่ายทอดเทคโนโลยี (R&D Training & Workshop)

ระวี เจียรวิภา สุภาณี ชนะวีรวรรณ และ พรเทพ ธีระวัฒนพงศ์. 2562. เอกสารประกอบการอบรม การจัดการสวนการแปรรูปและการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกาแฟ.
13 สิงหาคม 2562 คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่

ระวี เจียรวิภา. 2561. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ: การปลูกกาแฟและการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกาแฟเพื่อสร้างรายได้.
ใน “มหกรรมวิทย์สร้างอาชีพ ยกระดับภูมิภาค” 13-14 กันยายน 2561 ม.หาดใหญ่ จ.สงขลา.

2561: กลุ่มวิจัยกาแฟและโกโก้

2561: ห้องปฏิบัติการนิเวศสรีรวิทยาพืช

สายัณห์ สดุดี R. Lacote สุภัทร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา และ ระวี เจียรวิภา. 2561. คู่มือประกอบการถ่ายทอดเทคโนโลยี เรื่องการปรับปรุงระบบกรีดยางพาราภายใต้
สภาวะผันผวนของราคายางและขาดแคลนแรงงานกรีดยาง. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 40 หน้า.

สายัณห์ สดุดี สมชัย หลิมศิโรรัตน์ ระวี  เจียรวิภา สัตยา บุญรัตนชู เจษฎา โสภารัตน์ และศักดิ์อนันต์ แซ่ลิ่ม. 2560. คู่มือการใช้งานอุปกรณ์บันทึกภาพรากของพืช
PSU-ARDA Minirhizotron และโปรแกรม RIA. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
(สวก). 52 หน้า.

สายัณห์ สดุดี และระวี  เจียรวิภา. 2547. การจัดการสวนไม้ผลในสภาวะแห้งแล้งของภาคใต้. โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี ภาควิชาพืชศาสตร์
คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สงขลา.

ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในเอกสารการประชุมวิชาการ (Proceedings) (2007-2017)

Chanjula, P., Chiarawipa, R. and Panklang, P. 2017. Effects of Different Tropical Grasses on Feed Intake and Blood Metabolite of Goats.
pp. 219-295. The 2nd International Conference on Animal Nutrition and Environment (ANI-NUE2017): Towards the Betterment of Animal
Productivity, Conserving Resources and Environment”, Pullman Raja Orchid Hotel, Khon Kaen, Thailand, November 1-4, 2017.

พงศกร  สุธีกาญจโนทัย และระวี เจียรวิภา. 2560. การเปลี่ยนแปลงลักษณะสัณฐานและสรีรวิทยาของใบกาแฟโรบัสต้าในสภาพกลางแจ้งและพรางแสง.
งานประชุมวิชาการเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 55 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน 31 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2560 หน้าที่ 97-103.

พรเทพ ธีระวัฒนพงศ์ และระวี เจียรวิภา. 2560. การประเมินค่าคลอโรฟิลล์และแคโรทีนอยด์ในพืชอาหารสัตว์โดยใช้ SPAD-502Plus และ Greenseeker TM.
งานประชุมวิชาการเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 55 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน 31 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ 2560 หน้าที่ 104-110.

พันธุ์ทิพย์ ปานกลาง ณัฐวุฒิ จุลสงค์ และระวี เจียรวิภา. 2554. ผลของการปลูกหญ้าแฝกต่อสมบัติของดินและผลผลิตมังคุด. หน้า 182-183. ใน เอกสารการประชุม
วิชาการดินและปุ๋ยแห่งชาติ ครั้งที่ 2 จำนวน 195 หน้า วันที่ 11-13 พฤษภาคม 2554 จ. เชียงใหม่.

พันธุ์ทิพย์ ปานกลาง ณัฐวุฒิ จุลสงค์ และระวี เจียรวิภา. 2554. การปลูกหญ้าแฝกเพื่อควบคุมความชื้นในดินของสวนมังคุดจังหวัดนครศรีธรรมราช. หน้า 117-130.
ในเอกสารการประชุมวิชาการกรมพัฒนาที่ดิน ปี 2554 จำนวน 386 หน้า วันที่ 27 ก.พ.-1 มี.ค. 2554 จ.ปทุมธานี.

ระวี เจียรวิภา มนตรี แก้วดวง และวิทย์ธวัช กิ้มทอง . 2553. การดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และการตอบสนองทางสรีรวิทยาของไม้ยืนต้นในเมือง.
หน้า 215-219. การประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งที่ 1: ความเสี่ยง และโอกาสท้าทายในกลไกการจัดการสภาพภูมิ
อากาศโลก วันที่  19-21 ส.ค. 2553 จ. นนทบุรี.

ศรินณา ชูธรรมธัช ระวี เจียรวิภา สุพร ฆังคมณี นันทิการ์ เสนแก้ว อภิญญา สุราวุธ อาริยา จูดคง ประสพโชค ตันไทย ลักษมี สุภัทรา อุดร เจริญแสง
มนต์สรวง เรืองขนาบ นลินี จาริภากร และไพโรจน์ สุวรรณจินดา. 2553. ทดสอบการยืดอายุการเก็บรักษาลองกองและการใช้ 1-MCP ต่อการเก็บรักษา
ลองกอง. หน้า 54-71.  ใน การประชุมสัมมนาทางวิชาการ สวพ. 7-8 รายงานผลการวิจัยและทดสอบประจำปี 2552 กรมวิชาการเกษตร วันที่ 11-12 มี.ค.
2553 จ. ตรัง.

ลักษมี สุภัทรา สุพร ฆังคมณี ศรินณา ชูธรรมธัช สมปอง นุกูลรัตน์ อาริยา จูดคง อภิญญา สุราวุธ มนต์สรวง เรืองขนาบ ระวี เจียรวิภา และอุดร เจริญแสง. 2553.
การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพผลผลิตลองกองในพื้นที่จังหวัดสงขลา. หน้า 1-13. ใน  การประชุมสัมมนา
ทางวิชาการ สวพ. 7-8 รายงานผลการวิจัยและทดสอบประจำปี 2552 กรมวิชาการเกษตร วันที่ 11-12 มี.ค. 2553 จ. ตรัง.

Chiarawipa, R., Rueangkhanab, M., Chirasatitsin, S. and Nualsri, C. 2008. Non-destructive measurement of above-ground biomass in the prenursery
of oil palm seedling based on digital image analysis. 2nd Joint PSU-UNS Int. Conf. BioScience: Food, Agriculture and  Environment,
Jun’ 22-24, 2008, Novi Sad, Serbia.

ระวี เจียรวิภา สมยศ จิรสถิตสิน และสุรชาติ เพชรแก้ว. 2550. การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดิจิตอล เพื่อการประเมินปริมาตรไม้ยางพารา. 12 หน้า. รายงานการเสนอ
ผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการเพื่อนำเสนอผลงานวิจัย วันที่ 2-3 ก.ค. 2550 จ. ปัตตานี.