ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์

วุฒิการศึกษา

วท.บ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

วท.ม. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

Ph.D. (พืชสวน) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

สาขาที่เชี่ยวชาญ

สรีรวิทยาพืชสวน, สารควบคุมการเจริญเติบโตพืช

ภาระงานสอน

ระดับปริญญาตรี

510-212 หลักการผลิตพืชสวน (ผู้ร่วมสอน)

510-311 หลักการขยายพันธุ์พืช (ผู้ร่วมสอน)

510-421 สรีรวิทยาการผลิตพืช (ผู้ร่วมสอน)

510-424 สารควบคุมการเจริญเติบโตพืชทางการเกษตร (ผู้จัดการวิชาและผู้สอนหลัก)

510-455 ไม้ผลเขตร้อน (ผู้จัดการวิชาและผู้สอนหลัก)

510-456 การผลิตและการจัดการสวนไม้ผล (ผู้จัดการวิชาและผู้สอนหลัก)

510-484 วิทยาการกล้วยไม้ (ผู้จัดการวิชาและผู้สอนหลัก)

510-485 แคคตัสและไม้อวบน้ำ (ผู้จัดการวิชาและผู้สอนหลัก)

ระดับบัณฑิตศึกษา

510-526 สรีรวิทยาการเจริญเติบโตและพัฒนาการของไม้ผลเขตร้อน

510-529 สารควบคุมการเจริญเติบโตพืชสวนขั้นสูง

โครงการวิจัย

2559 : การศึกษาการสูญเสียหลังเก็บเกี่ยวและแนวทางลดความสูญเสียของพริกในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา (หัวหน้าโครงการ)

2558 : ผลของระยะเวลาการเก็บรักษาที่มีต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ์และการเจริญเติบโตของต้นกล้าปาล์มน้ำมัน (ผู้ร่วมวิจัย)

2557-2558 : การใช้เจลเคลือบผิวว่านหางจระเข้และสารควบคุมการเจริญเติบโตบางชนิดเพื่อยืดอายุหลังการเก็บเกี่ยวของผล มะนาว (หัวหน้าโครงการ)

2557-2558 : การชักนำการออกดอกของลองกองเพื่อการผลิตนอกฤดู (หัวหน้าโครงการ)

2555-2556 : การพัฒนาต้นแบบเครื่องมือสแกนรากพืชเพื่อประเมินการเจริญเติบโตของรากยางพารา (ผู้ร่วมวิจัย)

2554-2556 : ความสัมพันธ์ของรูปแบบไคลแมคเทอริกและกรดไขมันอิสระในระยะการเจริญเติบโตและพัฒนาของผลปาล์มน้ำมัน (หัวหน้าโครงการ)

2553-2555 : การใช้สารเมทิลไซโคลโพรพีนและจิบเบอเรลลิคแอซิดก่อนและหลังเก็บเกี่ยวต่อการสุก คุณภาพและอายุการเก็บรักษาของผลมังคุด (หัวหน้าโครงการ)

2553-2555 : บทบาทของเอทิลีนต่อการพัฒนาการสุกและรูปแบบไคลแมคเทอริกของผลมังคุดก่อนการเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยว (หัวหน้าโครงการ)

2553-2555 : การศึกษาอิทธิพลของเขตกรรมและสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อสรีรวิทยาการออกดอกเพื่อเป็นแนวทางในการผลิตลองกองนอกฤดู (หัวหน้าโครงการ)

2553-2554 : โครงการศึกษาเบื้องต้นเทคนิคการผลิตเมล็ดพันธุ์ยาง (ผู้ร่วมวิจัย)

2553-2554 : ผลของสภาพภูมิอากาศต่อการผลิตมังคุดนอกฤดูในจังหวัดพัทลุง (ผู้ร่วมวิจัย)

2552-2553 : ผลกระทบของการใช้สารเอทิฟอนและ 1-methylcyclopropene (1-MCP) ร่วมกับการห่อผลก่อนการเก็บเกี่ยวต่อผลมังคุด (หัวหน้าโครงการ)

2552-2553 : โครงการสร้างความพร้อมในการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์เกษตร (การวิเคราะห์ปริมาณฮอร์โมนพืช) (หัวหน้าโครงการ)

ผลงานวิชาการ

บทความทางวิชาการ

ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2558. การใช้เจลว่านหางจระเข้ยืดอายุมะนาว. วารสารเคหการเกษตร 39(11): 200- 202.

ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2556. ปัจจัยควบคุมและแนวทางการชักนำการออกดอกของลองกอง.วารสารเกษตรพระจอมเกล้า 31 (2): 102 - 111. (TCI)

ผลงานวิจัย

  • งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ

Nualwijit, N. and Lerslerwong, L. 2014. Post harvest ripening of oil palm fruit is accelerated by application of exogenous ethylene. Songklanakarin Journal of Science and Technology 36: 255 – 259. (Scopus)

Lerslerwong, L., S. Tipparn, and S. Chanaweerawan. 2014. Preliminary study to control flowering by trunk girdling and paclobutrazol treatment in longkong. Acta Horticulturae 1024: 211 – 216. (Scopus)

Nualwijit, N., Lerslerwong, L., and W. Imsabai. 2013. Ripening delay and reduction of free fatty acids of oil palm fruit in response to 1-methylcyclopropene. Acta Horticulturae 1011: 343 – 349. (Scopus)

Lerslerwong, L., Rugkong, A., Imsabai, W., and S. Ketsa, S. 2013. The harvest period of mangosteen fruit can be extended by chemical control of ripening-a proof of concept study. Scientia Horticulturae, 157: 13-18. (ISI)

Apiratikorn, S., Sdoodee, S., Lerslerwong, L. and S. Rongsawat. 2012. The impact of climate variability on the phonological change, yield and quality of mangosteen in Phattalung Province, Southern Thailand. Kasetsart Journal (Nat. Sci.) 46: 1-9. (Scopus)

Lerslerwong, L., K. Ketsa and W.G. van Doorn. 2009. Protein degradation and peptidase activity during petal senescence. Postharvest Biology and Technology 52: 84-90. (ISI)

Lerslerwong, L. and S. Ketsa. 2008. Autocatalytic ethylene production by Dendrobium flowers during senescence induced by exogenous ethylene. Thai Journal of Agricultural Science 41: 91-99. (Scopus)

Lerslerwong, L., Thunyarpar, T. and Subhadrabandhu, S. 2002. Changes in ethylene and total nonstructural carbohydrates content in stem apex prior to leaf flushing of marian plum (Bouea burmanica Griff.) cv. Toon Klaow. Kasetsart Journal (Nat. Sci.) 36: 119 – 23.(Scopus)

  • งานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ

วรรณทการณ์ สถิตกุล และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2559.ผลของการใช้สารเคลือบผิวจากอัลจิเนตและสารสกัดว่านหางจระเข้ต่อการเปลี่ยนแปลงสีและคุณภาพผลของ มะนาวพันธุแป้น. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร (พิเศษ) 47 (3): 162 – 165. (TCI)

ปฐม คงแก้ว และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2558. การเปลี่ยนแปลงปริมาณสารคล้ายจิบเบอเรลลินในช่วงแตกใบอ่อน ของลองกอง. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า (พิเศษ) 33 (1): 209 – 214. (TCI)

พิมาภรณ์ แก้วสวัสดิ์ และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2558. ผลกระทบของปริมาณน้ำฝนต่อการออกดอกของลองกองที่ชักนำด้วยการราดสารพาโคลบิวทราโซลและการรัด ลำต้น. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า (พิเศษ) 33 (1): 215 – 221. (TCI)

ชมพูนุท บัวเผื่อน และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2557. การใช้สารเคลือบผิวเจลว่านหางจระเข้เพื่อยืดอายุการวางจำหน่ายของมะนาวพันธุ์แป้น. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร (พิเศษ) 45 (3/1): 101 – 104. (TCI)

ธนากร เหมะรักษ์ พิมาภรณ์ แก้วสวัสดิ์ และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2557. ผลของกรดจิบเบอเรลลิคร่วมกับปุ๋ย NPK 16:16:16 ต่อการเจริญเติบโตและปริมาณสารคล้ายจิบ เบอเรลลินของต้นกล้ามังคุด. วารแก่นเกษตร (พิเศษ) 42: 249 – 254. (TCI)

สายทิพย์ ทิพย์ปาน และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2557. ผลของการรัดกิ่งและสารพาโคลบิวทราโซลต่อการออกดอกและปริมาณคาร์โบไฮเดรทที่ไม่ใช่โครงสร้างของลองกอง (Aglaia dookkoo Griff.). วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ 1: 28 – 33. (TCI)

นฤมล นวลวิจิตร และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2555. ผลของเอทิลีนและเมทิลไซโคลโพรพีนต่อการสุกและคุณภาพของผลปาล์มน้ำมันหลังการเก็บเกี่ยว. วารสาร วิทยาศาสตร์เกษตร (พิเศษ) 43: 452 – 455. (TCI)

อรจิรา พรหมทองรักษ์ และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2555.ผลของการใช้กรดจิบเบอเรลลิกและเมทิลไซโคลโพรพีนก่อนและหลังการเก็บเกี่ยวต่อวันที่เก็บเกี่ยวและอายุการเก็บ รักษาของผลมังคุด.วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร (พิเศษ) 43: 392 – 395. (TCI)

ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ และภูริณัฐ พลายด้วง. 2552. การศึกษาเบื้องต้นของการใช้สาร1-methylcyclopropene (1-MCP) ร่วมกับการห่อผลก่อนการเก็บเกี่ยวต่อการสุก ของผลมังคุด. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร (พิเศษ) 40: 575 – 577. (TCI)

ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ และธนัท ธัญญาภา. 2542. การเปลี่ยนแปลงปริมาณเอทิลีนในช่วงก่อนการแตกใบอ่อนในยอดลิ้นจี่พันธุ์ฮงฮวยและมะปรางพันธุ์ทูลเกล้า. วารสาร เกษตร 15(1): 1-7. (TCI)

  • รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ รุ่งรัตน์ แซ่หยาง ปฐม คงแก้ว และละอองดาว พวงแก้ว. 2559. การศึกษาการสูญเสียหลังเก็บเกี่ยวและลดแนวทางความสูญเสียของพริกใน พื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา. โครงการจัดตั้งสถาบันวิจัยและนวัตกรรมอาหาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ และชมพูนุท บัวเผื่อน. 2559. การใช้เจลเคลือบผิวว่านหางจระเข้และสารควบคุมการเจริญเติบโตบางชนิดเพื่อยืดอายุหลังการเก็บเกี่ยวของผล มะนาว.ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.

ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2558. บทบาทของเอทิลีนและ 1-methylcyclopropene ต่อการสุกของผลปาล์มน้ำมันหลังการเก็บเกี่ยว. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่.

ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ กรกช นาคคนอง อดิเรก รักคง และสุภาณี ชนะวีรวรรณ. 2558. การชักนำการออกดอกของลองกองเพื่อการผลิตนอกฤดู. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่.

ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2556. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ บทบาทของเอทิลีนต่อการพัฒนา การสุกและรูปแบบไคลแมคเทอริกของผลมังคุดก่อนการเก็บเกี่ยวต่อคุณภาพ ผลหลังการเก็บเกี่ยว. สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ และ สุภาณี ชนะวีรวรรณ. 2556. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การศึกษาอิทธิพลของเขตกรรมและสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อสรีรวิทยาการ ออกดอกเพื่อเป็นแนวทางในการผลิตลองกองนอกฤดู. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่.

สายัณห์ สดุดี สัตยา บุญรัตนชู และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2556. การพัฒนาต้นแบบเครื่องมือสแกนรากพืชเพื่อประเมินการเจริญเติบโตของราก. ภาควิชาพืชศาสตร์, ฝ่ายซ่อมบำรุงรักษาและพัฒนาเครื่องมือศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

วิชัย หวังวโรดม และลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2556. การศึกษาเบื้องต้นสำหรับใช้พัฒนาเทคนิคการผลิตเมล็ดพันธุ์ยางที่ใช้เป็นต้นตอ. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่.

ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์. 2555. โครงการสร้างความพร้อมในการวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์เกษตร(การวิเคราะห์ปริมาณฮอร์โมนพืช). สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.

สายัณห์ สดุดี ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ และอดิเรก รักคง. 2553. ผลของสภาพภูมิอากาศต่อการ ผลิตมังคุดนอกฤดูในจังหวัดพัทลุง. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่.

ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ และอดิเรก รักคง. 2553. ผลกระทบของการใช้สารเอทิฟอนและ1-methylcyclopropene (1-MCP) ร่วมกับการห่อผลก่อนการเก็บเกี่ยวต่อผล มังคุด. ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.

รจเร นพคุณวงศ์ ลดาวัลย์ เลิศเลอวงศ์ วิวัฒน์ ภานุอำไพ สมาน ภักดี และอุทัย นพคุณวงศ์. 2547.การตอบสนองของการเจริญทางใบและการออกดอกติดผลลิ้นจี่ ต่อการตัดแต่งปลายกิ่งและ ฮอร์โมน. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

ผลงานวิชาการ

  • ทุนปริญญาเอก จากโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) รุ่นที่ 5 กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเกษตรสาขาพืชสวน ประจำปี พ.ศ. 2545 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

  • ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ ประจำปี พ.ศ. 2553 โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

  • รางวัลบุคลากรดีเด่น พนักงานมหาวิทยาลัย สายวิชาการ คณะทรัพยากรธรรมชาติ ประจำปี พ.ศ. 2556

  • เงินทุนช่วยเหลือการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย ครั้งที่ 22 พ.ศ.2558 สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา

  • ทุน teaching staff mobility ภายใต้โครงการ the ALFABET Project (Erasmus Mundus Action 2 lot 5 project ALFABET - Asia: Life, Food, Agriculture, Biology, Economics, Technology) ณ University of Natural Resources and Life Sciences, กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ประจำปี 2016

  • ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) รุ่นที่ 19 เพื่อเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร สาขาพืชศาสตร์ ประจำปี พ.ศ. 2559 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)