ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรีรัตน์ เย็นช้อน

วุฒิการศึกษา

วท.บ. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วท.ม. (พืชศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ปร.ด. (พืชศาสตร์) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

สาขาที่เชี่ยวชาญ

เทคโนโลยีชีวภาพพืชปลูก

ภาระงานสอน

ระดับปริญญาตรี

510-401 เทคโนโลยีชีวภาพของพืชปลูก

510-452 ปาล์มน้ำมัน

510-391 ฝึกภาคสนามพืชศาสตร์

510-497 สัมมนา

ระดับปริญญาโท

510-597 สัมมนาพืชศาสตร์ระดับบัณฑิตศึกษา 1

510-598 สัมมนาพืชศาสตร์ระดับบัณฑิตศึกษา 2

510-599 วิทยานิพนธ์

510-601 พันธุวิศวกรรมของพืชปลูก

โครงการวิจัย

2558–2560 : การชักนำการเกิดพอลิพลอยด์ในกล้วยไม้เขากวางอ่อนโดยการใช้สารโคลซิซินในหลอดทดลอง (หัวหน้าโครงการ)

2557–2558 : การชักนำพืชต้นใหม่ผ่านกระบวนการโซมาติกเอ็มบริโอโดยตรงจากการเพาะเลี้ยงชิ้นส่วนใบอ่อนปาล์มน้ำมันในหลอดทดลอง (หัวหน้าโครงการ)

ผลงานวิชาการ

ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

ภาณินี ช่วยมี สุรีรัตน์ เย็นช้อน และสมปอง เตชะโต. 2558. ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการขยายพันธุ์ยางพารา (Hevea brasiliensis Muell. Arg.) พันธุ์ดั้งเดิมจากการเพาะเลี้ยงตาสีเขียวในหลอดทดลอง. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์. 2(2) : 17-20.


ไซนีย๊ะ สะมาลา พลวัต ภัทรกุลพิสุทธิ สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้อน. 2558. อิทธิพลของ BA และ NAA ต่อการเพิ่มจำนวนยอดรวมของฟักข้าว. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 33(ฉบับพิเศษ1) : 3-9.


Yenchon, S. and Te-chato, S. 2015. Sonication-Assisted Agrobacterium-mediated Gene Transformation of Oil Palm Secondary Somatic Embryo. Kasetsart J. (Nat. Sci.). 49 : 319-326.


ไซนีย๊ะ สะมาลา พลวัต ภัทรกุลพิสุทธิ และสุรีรัตน์ เย็นช้อน. 2558. การขยายพันธุ์กล้วยไม้สิงโตฟันจักภายใต้สภาวะปลอดเชื้อ. ว.แก่นเกษตร. 43(2) : 277-284.


Samala, S., Te-chato, S., Yenchon, S. and Thammasiri, K. 2014. Protocorm-like body proliferation of Grammatophyllum speciosum through asymbiotic seed germination. ScienceAsia. 40 : 379-383.


สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้อน. 2557. การใช้โฟลไซโตเมรีตรวจสอบความแตกต่างระหว่างพันธุ์ในไม้ผลบางชนิด. ว.วิทย.กษ. 45 3(พิเศษ) : 407


ไซนีย๊ะ สะมาลา สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้อน. 2557. ผลของสูตรอาหารและสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการพัฒนาเป็นพืชต้นใหม่ในกล้วยไม้สามปอยขุนตาน. ว.วิทย.กษ. 45 3(พิเศษ) : 309-314.


สุรีรัตน์ เย็นช้อน และสมปอง เตชะโต. 2557. การขยายพันธุ์มะดัน (Garcinia schomburgkiana Pierre.) ในหลอดทดลอง. ว.วิทย.กษ. 45 3(พิเศษ) : 75-80.


สุรีรัตน์ เย็นช้อน มาลัยวัลย์ ยังนิ่ง และสมปอง เตชะโต. 2557. ผลของซิลเวอร์ไนเตรทต่อการยืดอายุ การบานของกุหลาบสายพันธุ์มายวาเลนไทน์ในหลอดทดลอง. แก่นเกษตร. 42(ฉบับพิเศษ 3) : 573-577.


Yenchon, S. and Te-chato, S. 2014. Polyploidy Induction of Dendrobium formosum by Colchicine Treatment In Vitro. Proceedings of the International Symposium on Orchids and Ornamental Plants. Chaing Mai, Thailand January 9-11 2012. Acta Horticulturae. 1025 : 81-88.


ไซนีย๊ะ สะมาลา สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้อน. 2557. ผลของ ethyl methanesulphonate (EMS) ต่อกล้วยไม้หวายโซเนีย. แก่นเกษตร. 42(ฉบับพิเศษ 3) : 506-511.


Yenchon, S. and Te-chato, S. 2013. Sonication-assisted Agrobacterium-mediated gene transformation of oil palm secondary somatic embryo. Kasetsart Journal (in press).


สุรีรัตน์ เย็นช้อน และสมปอง เตชะโต. 2556. การขยายพันธุ์มะดัน (Garcinia schomburgkiana Pierre.) ในหลอดทดลอง. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร (อยู่ในระหว่างดำเนินการตีพิมพ์).


สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้อน. 2556. การใช้โฟลไซโตเมรีตรวจสอบความแตกต่างระหว่างพันธุ์ในไม้ผลบางชนิด. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร (อยู่ในระหว่างดำเนินการตีพิมพ์).


ไซนีย๊ะ สะมาลา สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้อน. 2556. ผลของสูตรอาหารและสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการพัฒนาเป็นพืชต้นใหม่ในกล้วยไม้สามปอยขุนตาน. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร (อยู่ในระหว่างดำเนินการตีพิมพ์).


Yenchon, S. and Te-chato, S. 2012. Polyploidy induction of Dendrobium formosum Roxb. by colchicine treatment in vitro. Acta Horticulturae (in press).


Yenchon, S. and Te-chato, S. 2012. Effect of bacteria density, inoculation and co- cultivation period on Agrobacterium-mediated transformation of oil palm embryogenic callus. Journal of Agricultural Technology 8: 1477-1488.


สมปอง เตชะโต สุรีรัตน์ เย็นช้อน และลินดา สายยนต์. 2554. ผลของชิ้นส่วนและสูตรอาหารต่อการสร้างยอดรวมจากการเพาะเลี้ยงส้มแขกในหลอดทดลอง. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 42: 151-154.


สุรีรัตน์ เย็นช้อน สมปอง เตชะโต และศิริญญา ม่วงสอน. 2554. การชักนา protocorm-like bodies จากต้นกล้วยไม้เหลืองจันทบูรด่างที่เกิดจากการใช้ ethyl methane sulfonate. วารสารวิทยาศาสตร์ เกษตร 42: 155-158.


สุรีรัตน์ เย็นช้อน และสมปอง เตชะโต. 2553. ผลของชนิดสายเชื้ออะโกรแบคทีเรียมและอายุของ เอ็มบริโอเจนิคแคลลัสต่อประสิทธิภาพการถ่ายยีนเข้าสู่เอ็มบริโอเจนิคแคลลัสปาล์มน้ำมัน. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 41: 205-208.


สุรีรัตน์ เย็นช้อน และสมปอง เตชะโต. 2552. ผลของแหล่งชิ้นส่วนต่อการถ่ายยีนเข้าสู่เอ็มบริโอเจนิคแคลลัสปาล์มน้ำมันโดยใช้อะโกรแบคทีเรียม. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 40: 444-447.


ผลงานวิจัยเสนอในที่ประชุมวิชาการ

Samala, S., Te-chato, S., Yenchon, S. and Thammasiri, K. 2013. Asymbiotic seed germination of Thai orchid, Grammatophyllum speciosum Blume. The International Symposium on Botanical Gardens and Lanscape, Golden Tulip Soverreign Hotel, Bangkok , Thailand, 5-8 August 2013.


สุรีรัตน์ เย็นช้อน และสมปอง เตชะโต. 2556. การขยายพันธุ์มะดัน (Garcinia schomburgkiana Pierre.) ในหลอดทดลอง. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 12 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ 9-12 พฤษภาคม 2556.


สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้อน. 2556. การใช้โฟลไซโตเมรีตรวจสอบความแตกต่างระหว่างพันธุ์ในไม้ผลบางชนิด. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 12 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ 9-12 พฤษภาคม 2556.


ไซนีย๊ะ สะมาลา สมปอง เตชะโต และสุรีรัตน์ เย็นช้อน. 2556. ผลของสูตรอาหารและสารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการพัฒนาเป็นพืชต้นใหม่ในกล้วยไม้สามปอยขุนตาน. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 12 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพฯ 9-12 พฤษภาคม 2556.


สุรีรัตน์ เย็นช้อน และสมปอง เตชะโต. 2556. การเพิ่มประสิทธิภาพการชักนำการออกดอกและอายุการบานของดอกกุหลาบสายพันธุ์มายวาเลนไทน์ในหลอดทดลอง. การประชุมวิชาการพืชศาสตร์ ครั้งที่ 1 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ 13-14 สิงหาคม 2556.


สมปอง เตชะโต สุรีรัตน์ เย็นช้อน และลินดา สายยนต์. 2554. ผลของชิ้นส่วนและสูตรอาหารต่อการสร้างยอดรวมจากการเพาะเลี้ยงส้มแขกในหลอดทดลอง. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้ง ที่ 10 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ 18-20 พฤษภาคม 2554.


สุรีรัตน์ เย็นช้อน สมปอง เตชะโต และศิริญญา ม่วงสอน. 2554. การชักนา protocorm-like bodies จากต้นกล้วยไม้เหลืองจันทบูรด่างที่เกิดจากการใช้ ethyl methane sulfonate. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 10 ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ 18-20 พฤษภาคม 2554.


Yenchon, S. and Te-chato, S. 2010. Biological factors affecting gene transformation in embryogenic callus of oil palm by Agrobacterium tumefaciens. The 4th AG-BIO/PERDO Graduate Conference and University of Tsukuba-Kasetsart University Joint Seminar, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom, 9-10 December 2010.


สุรีรัตน์ เย็นช้อน และสมปอง เตชะโต. 2553. ผลของชนิดสายเชื้ออะโกรแบคทีเรียมและอายุของเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสต่อประสิทธิภาพการถ่ายยีนเข้าสู่เอ็มบริโอเจนิคแคลลัสปาล์มน้ำมัน. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 9 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 11-14 พฤษภาคม 2553.


สุรีรัตน์ เย็นช้อน และสมปอง เตชะโต. 2552. ผลของแหล่งชิ้นส่วนต่อการถ่ายยีนเข้าสู่เอ็มบริโอเจนิค แคลลัสปาล์มน้ำมันโดยใช้อะโกรแบคทีเรียม. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 8 ณ โรงแรมดิ เอ็มเพรส อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 6-9 พฤษภาคม 2552.

รางวัลด้านวิชาการ/ด้านวิจัยที่ได้รับ

2553

รางวัลระดับดี ในการนำเสนอผลงาน ภาคโปสเตอร์ สาขาไม้ผล/ไม้ยืนต้น ในการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

รางวัล The merit Achievement on oral presentation in the 4 th AG-BIO/PERDO graduate Conference on Agricultural Biotechnology and TU-UK Joint Seminar AG-BIO/PERDO


2554

รางวัลการนำเสนอผลงานดีประเภทบรรยายในการประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษา สาขาเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร ครั้งที่ 4 AG-BIO/PERDO บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

รางวัลชนะเลิศ ในการนำเสนอผลงานภาคบรรยาย ในโครงการ Innovations day ครั้งที่ 1 คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.สงขลานครินทร์

รางวัลดีเยี่ยม ในการนำเสนอผลงาน ภาคบรรยาย สาขาเครื่องเทศและสมุนไพร ในการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 10

รางวัลชมเชย ในการนำเสนอผลงาน ภาคโปสเตอร์ สาขาพันธุศาสตร์และการปรับปรุงพันธุ์พืช ไม้ดอก ในการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 10


2555

รางวัลนักวิจัยที่ได้รับรางวัลดีเยี่ยมในการนำเสนอผลงานระดับชาติและนานาชาติภาคบรรยายสาขาเครื่องเทศและสมุนไพร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

รางวัลนักวิจัยที่ได้รับรางวัลชมเชยในการนำเสนอผลงานระดับชาติและนานาชาติภาคโปสเตอร์ สาขาการปรับปรุงพันธุ์ไม้ดอก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

รางวัลวิทยานิพนธ์ชมเชยระดับปริญญาโท ประจำปี 2554 กลุ่มวิทยาศาสตร์ชีวภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

รางวัล The best innovation ในการนำเสนอผลงานภาคบรรยาย ในโครงการ Innovations in Agriculture and Natural Resources คณะทรัพยากรธรรมชาติ ม.สงขลานครินทร์


2556

รางวัลรองชนะเลิศในการนำเสนอผลงานภาคโปสเตอร์ ในการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 12 สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย