รายการที่ 1.7 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

รายการที่ 1.7 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

ด้านที่ 1. ด้านผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา

รายการที่ 1.7 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

เป้าหมาย ร้อยละ 70 ของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ตั้งแต่ค่าคะแนนเฉลี่ยระดับชาติขึ้นไป

ผลสัมฤทธิ์

       เชิงปริมาณ (Output)    

- ผู้สำเร็จการศึกษาไม่สมัครใจเข้าร่วมการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)

      

  เชิงคุณภาพ (Outcome) 

        - ไม่มีผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)


              ผลสะท้อน (Impact)

 - ไม่มีข้อบังคับให้ผู้เรียนต้องเข้ารับการจัดการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) จึงทำให้ผู้เรียนไม่ให้ความสำคัญในการทดสอบ


ระดับคุณภาพ

ผลการประเมิน ค่าคะแนน ระดับคุณภาพ

- -     -

 

การติดตามและตรวจสอบ

- ผู้สำเร็จการศึกษาไม่สมัครใจเข้าร่วมการทดสอบดังกล่าว จึงไม่มีการติดตามและตรวจสอบผลการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)


จุดเด่น

-


จุดที่ควรพัฒนา

- ผู้สำเร็จการศึกษาไม่ได้นำผลจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET) ไปใช้ในการทำงานหรือการศึกษาต่อ


ข้อเสนอแนะ

    - ในปีการศึกษาต่อไป สถานศึกษาได้มีการวางแผนและเตรียมความพร้อมในการวัดคุณภาพผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา โดยให้นักเรียน นักศึกษาเข้าร่วมโครงการงานจัดสอบมาตรฐานวิชาชีพ (VQ) ทดแทนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอาชีวศึกษา (V-NET)



หลักฐานและเอกสารอ้างอิง

-   หนังสือสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่ ศธ ๐๖๐๖/๓๕๒ เรี่อง ส่งประกาศสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 

เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง  พ.ศ.๒๕๖๖

-   หนังสือคำสั่งสำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดหนองคาย เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการอำนวยการประเมินมาตรฐาน วิชาชีพ ระดับจังหวัดหนองคาย ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๖

-      สำรวจความพร้อมและการขอจัดตั่งศูนย์ทดสอบ ศูนย์ประเมินมาตรฐานฝึมือแรงงาน องค์กรรับรองสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานสากล 

ภายใต้นโยบายการจัดทำระบบวัดผลรับรองมาตรฐานวิชาชีพ (Skilt Certficate)