ชื่อนายวิชัย  เหล่าอลังการ

วิชาเอก ภาษาอังกฤษ

ระดับการศึกษา ปริญญาตรี  

มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร

ปัจจุบัน ครูชำนาญการพิเศษ โรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4

สอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6

1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด             

1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน.......24......ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาภาษาอังกฤษ ม.4/1          จำนวน..2..ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาภาษาอังกฤษ ม.4/2          จำนวน..2..ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาภาษาอังกฤษ ม.4/3          จำนวน..2..ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาภาษาอังกฤษ ม.4/4           จำนวน..2..ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาภาษาอังกฤษ ม.4/5           จำนวน..2..ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ม.4/3  จำนวน..2...ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ม.4/4  จำนวน..2...ชั่วโมง/สัปดาห์  

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ม.5/3  จำนวน..2...ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ม.5/4  จำนวน..2...ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ม.6/3  จำนวน..2...ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ม.6/4  จำนวน..2...ชั่วโมง/สัปดาห์

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน/ชุมนุมChess Conner              จำนวน..1..ชั่วโมง/สัปดาห์

 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน/อบรมจริยธรรม                  จำนวน..1..ชั่วโมง/สัปดาห์

1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้            

- การมีส่วนร่วมในชุมชนแห่งการเรียนรู้        จำนวน.....1......ชั่วโมง/สัปดาห์

1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 

- งานโสตศึกษา จำนวน.....1......ชั่วโมง/สัปดาห์

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น                    

                         - ..................................              จำนวน.....1......ชั่วโมง/สัปดาห์

งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้

จำนวน  6  ชั่วโมง/สัปดาห์

- งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน                  จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์

- กิจกรรมหน้าเสาธง โฮมรูม                          จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์

- เวรประจำวัน                                            จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์

####################################################

คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการเยี่ยมบ้าน ปีการศึกษา 2566

###################


1.ด้านการจัดการเรียนรู้ 

2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ 

3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ 

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565


ประเด็นท้าทาย

เรื่อง  “การพัฒนาการจัดการเรียนการเรียนการสอนแบบ Active learning โดยใช้แผนการสอนคิด เพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ที่ถดถอยและยกระดับคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4”

 


1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน 

        จากประสบการณ์การสอนวิชาภาษาอังกฤษได้พบปัญหาและอุปสรรคว่าผู้เรียน ส่วนมากประสบกับปัญหาในการพูดสื่อความและการเรียบเรียงประโยคอีกทั้งขาดความเชื่อมั่นในการ พูดภาษาอังกฤษ จึงทําให้ผู้เรียนไม่สามารถบรรลุเป้าหมายในการเรียนภาษาอังกฤษได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ที่หลักสูตรกําหนด ยังพบว่าอีกสาเหตุสําคัญที่ทําให้ผู้เรียนไม่สามารถประสบผลสําเร็จใน การเรียนภาษาอังกฤษนั้นคือผู้เรียนส่วนมากไม่ได้ให้ความสําคัญกับการฝึกพูดภาษาอังกฤษเท่าที่ควร เนื่องจากจะต้องใช้เวลาในการฝึกมาก ประกอบกับนักเรียนเองขาดความเชื่อมั่นในตนเอง และไม่กล้า แสดงออกในการใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารเพื่อการสื่อสาร

 จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยต่าง ๆ พบว่า การ การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะกระบวนการอย่างเป็นขั้นตอน และสร้างองค์ความรู้ 

Active Learning เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา (Constructivism) ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดขึ้นในตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำ กระตุ้น หรืออำนวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้น โดยกระบวนการคิดขั้นสูง กล่าวคือ ผู้เรียนมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินค่าจากสิ่งที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนรู้ ทำให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีความหมายและนำไปใช้ในสถานการณ์อื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ (สถาพร พฤฑฒิกุล, 2558)

ด้วยเหตุนี้ จึงส่งผลกระทบถึงคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยการพัฒนาการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ เข้ามาเพื่อช่วยปัญหาการเรียนรู้ที่ถดถอย จากเหตุผลดังกล่าวผู้สอนจึงมีความสนใจที่จะศึกษาเพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งกระบวนการเหล่านี้เป็นการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เน้นกระบวนการคิด การร่วมมือ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความมุ่งมั่นในการเรียนและการทำงาน เกิดความท้าทายและสนุกกับการเรียน และจะส่งผลให้ผู้เรียนพัฒนาคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ดียิ่งขึ้น

ผู้สอนจึงสนใจที่จะเพิ่มคะแนนผลสัมฤทธ์ทางการเรียนจากการพัฒนาจัดการเรียนการเรียนการสอนแบบ Active learning โดยใช้แผนการสอนคิด ที่กำหนดกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Do now (ขั้นนำ) Purpose (ขั้นกำหนดเป้าหมาย) Work mode (ขั้นสอน) Reflective Thinking (ขั้นสรุป) และใช้เครื่องมือสอนคิดในการวัดและประเมินผลรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4


2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล

1)  ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานแกนกลาง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4

2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการเรียนการสอนแบบ Active learning โดยใช้แผนการสอนคิด เพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ที่ถดถอยและยกระดับคะแนนผลสัมฤทธ์ทางการเรียน

3)ออกแบบโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ และจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แผนการสอนคิด ที่กำหนดกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Do now (ขั้นนำ) Purpose (ขั้นกำหนดเป้าหมาย) Work mode (ขั้นสอน) Reflective Thinking (ขั้นสรุป) และใช้เครื่องมือสอนคิดในการวัดและประเมินผลรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน

4) นำแผนการสอนคิด ที่จัดทำขึ้นไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยปรับกิจกรรมให้เหมาะสมกับบริบทที่สอน

5) บันทึกผลการเรียนรู้ของนักเรียน ที่เกิดขึ้นจากการกิจกรรมการเรียนรู้ และสะท้อนผลการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ และนำข้อมูลที่ได้ไปพัฒนาผลการเรียนรู้ให้นักเรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

6) เมื่อประสบความสำเร็จในการแก้ไขปัญหา นำไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพแก่ครูผู้สอนโรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4


 

3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง 

เชิงปริมาณ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้นร้อยละ 65   


เชิงคุณภาพ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 ปีงบประมาณ 2566 ภาคเรียนที่ 2               ปีการศึกษา 2565 มีความรู้ในรายวิชาภาษาอังกฤษและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ



ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566


ประเด็นท้าทาย

เรื่อง  “การพัฒนาการจัดการเรียนการเรียนการสอนแบบ Active learning โดยใช้แผนการสอนคิด เพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ที่ถดถอยและยกระดับคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

 


1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน 

        จากประสบการณ์การสอนวิชาภาษาอังกฤษได้พบปัญหาและอุปสรรคว่าผู้เรียน ส่วนมากประสบกับปัญหาในการพูดสื่อความและการเรียบเรียงประโยคอีกทั้งขาดความเชื่อมั่นในการ พูดภาษาอังกฤษ จึงทําให้ผู้เรียนไม่สามารถบรรลุเป้าหมายในการเรียนภาษาอังกฤษได้ตรงตาม วัตถุประสงค์ที่หลักสูตรกําหนด ยังพบว่าอีกสาเหตุสําคัญที่ทําให้ผู้เรียนไม่สามารถประสบผลสําเร็จใน การเรียนภาษาอังกฤษนั้นคือผู้เรียนส่วนมากไม่ได้ให้ความสําคัญกับการฝึกพูดภาษาอังกฤษเท่าที่ควร เนื่องจากจะต้องใช้เวลาในการฝึกมาก ประกอบกับนักเรียนเองขาดความเชื่อมั่นในตนเอง และไม่กล้า แสดงออกในการใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารเพื่อการสื่อสาร

 จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยต่าง ๆ พบว่า การ การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะกระบวนการอย่างเป็นขั้นตอน และสร้างองค์ความรู้ 

Active Learning เป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทางปัญญา (Constructivism) ที่เน้นกระบวนการเรียนรู้มากกว่าเนื้อหาวิชา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดขึ้นในตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่านสื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนำ กระตุ้น หรืออำนวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้น โดยกระบวนการคิดขั้นสูง กล่าวคือ ผู้เรียนมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินค่าจากสิ่งที่ได้รับจากกิจกรรมการเรียนรู้ ทำให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีความหมายและนำไปใช้ในสถานการณ์อื่นๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ (สถาพร พฤฑฒิกุล, 2558)

ด้วยเหตุนี้ จึงส่งผลกระทบถึงคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน จึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีการพัฒนาคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยการพัฒนาการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ เข้ามาเพื่อช่วยปัญหาการเรียนรู้ที่ถดถอย จากเหตุผลดังกล่าวผู้สอนจึงมีความสนใจที่จะศึกษาเพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซึ่งกระบวนการเหล่านี้เป็นการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เน้นกระบวนการคิด การร่วมมือ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความมุ่งมั่นในการเรียนและการทำงาน เกิดความท้าทายและสนุกกับการเรียน และจะส่งผลให้ผู้เรียนพัฒนาคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ดียิ่งขึ้น

ผู้สอนจึงสนใจที่จะเพิ่มคะแนนผลสัมฤทธ์ทางการเรียนจากการพัฒนาจัดการเรียนการเรียนการสอนแบบ Active learning โดยใช้แผนการสอนคิด ที่กำหนดกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Do now (ขั้นนำ) Purpose (ขั้นกำหนดเป้าหมาย) Work mode (ขั้นสอน) Reflective Thinking (ขั้นสรุป) และใช้เครื่องมือสอนคิดในการวัดและประเมินผลรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5


2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล

1)  ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานแกนกลาง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

2) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการเรียนการสอนแบบ Active learning โดยใช้แผนการสอนคิด เพื่อแก้ปัญหาการเรียนรู้ที่ถดถอยและยกระดับคะแนนผลสัมฤทธ์ทางการเรียน

3)ออกแบบโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ตามตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ และจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แผนการสอนคิด ที่กำหนดกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ Do now (ขั้นนำ) Purpose (ขั้นกำหนดเป้าหมาย) Work mode (ขั้นสอน) Reflective Thinking (ขั้นสรุป) และใช้เครื่องมือสอนคิดในการวัดและประเมินผลรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน

4) นำแผนการสอนคิด ที่จัดทำขึ้นไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยปรับกิจกรรมให้เหมาะสมกับบริบทที่สอน

5) บันทึกผลการเรียนรู้ของนักเรียน ที่เกิดขึ้นจากการกิจกรรมการเรียนรู้ และสะท้อนผลการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ และนำข้อมูลที่ได้ไปพัฒนาผลการเรียนรู้ให้นักเรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

6) เมื่อประสบความสำเร็จในการแก้ไขปัญหา นำไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพแก่ครูผู้สอนโรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4


 

3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง 

เชิงปริมาณ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา ภาษาอังกฤษพื้นฐานเพิ่มขึ้นร้อยละ 65   


เชิงคุณภาพ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนป่าไม้อุทิศ 4 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2 ปีงบประมาณ 2566 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 มีความรู้ในรายวิชาภาษาอังกฤษและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ