history

6   สิ่งประดิษฐ์เปลี่ยนโลก

วัคซีน

ในปี 2339 นพ.เอ็ดวาร์ด เจนเจอร์ ริเริ่มศึกษาวิธีการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หลังจากเขาพบแรงงานหญิงในฟาร์มเลี้ยงสัตว์สร้างภูมิคุ้มกันต่อไข้ทรพิษ เขาจึงทดลองให้เชื้อแก่เด็กคนหนึ่ง พบว่าเด็กคนนี้ไม่มีอาการป่วยเมื่อสัมผัสเชื้อ ที่มาของคำว่า “วัคซีน” มาจากคำว่าไข้ทรพิษในภาษาละติน “vaccinia” 

หลอดไฟ

ในปี 2443 มีการคิดค้น หลอดไฟแบบไส้ ครั้งแรกขึ้นในโลกโดย เซอร์ โจเซฟ สวอน ได้นำแนวคิด จากนักวิทยาศาสตร์ มาพัฒนาต่อ จนสร้างหลอดไฟได้สำเร็จแต่ไม่ได้พัฒนา และ ยุ่งยาก ต่อมา โทมัส เอดิสัน ได้นำผลของเขามาพัฒนา และใช้ระบบกระแสตรง  ต่อมา วิลเลี่ยม เดวิส ได้คิดค้นไส้หลอด ที่ทำมาจาก ทังสเตน ซึ่งสามารถทนความร้อน ต่อมา 

นิโคลัส เทสล่าได้นำมาพัฒนา จนเกิดเป็น ไฟฟ้ากระแสสลับ

รถยนต์

ในปี 2429 คาร์ล เบ็นทซ์ วิศวกรชาวเยอรมันได้สร้างรถยนต์ที่ใช้เครื่องยนต์เพลิงเผาไหม้คันแรกของโลกได้สำเร็จ โดยใช้โครงสร้างแบบลูกสูบเหมือนของเครื่องจักรไอน้ำ เพียงแต่ได้เพิ่มอุปกรณ์ที่จะเปลี่ยนเชื้อเพลิงในรูปของเหลวให้กลายเป็นก๊าซ และเพิ่มวาล์วไอดีไอเสีย ในรูปแบบของเครื่องยนต์ 4 จังหวะ ปัจจุบันรถยนต์ที่ คาร์ล ผลิตเป็นบริษัท ชื่อ เมอร์เซเดส เบ็นซ์

โทรศัพท์

ในปี ค.ศ. 1876 

อเล็กซานเดอร์  เกรแฮม เบล คิดค้นโทรศัพท์ระยะไกล 6 ไมล์

สำเร็จ  ต่อมา 1877 โทมัส เอดิสัน ประสบความสำเร็จในการระบบ Carbon microphone

1900 ประสบความสำเร็จโทรศัพท์ระหว่างประเทศ 

USA  - Cuba

1920 โทรศัพท์สาธารณะครั้งแรก 

1963 AT and T เปลี่ยนจากโทรศัพท์แป้นหมุนเป็นปุ่มกด

1992 โทรศัพท์ปุ่มกด

เครื่องพิมพ์

      โยฮันส์ กูเตนเบิร์ก เป็นช่างเหล็ก ช่างทอง ช่างพิมพ์ และนักประดิษฐ์ชาวเยอรมัน ได้ประดิษฐ์ตัวพิมพ์โลหะผสมได้สำเร็จ และนายกูเตนเบิร์กยังได้พัฒนาเครื่องพิมพ์ หมึกพิมพ์ กระดาษที่ใช้พิมพ์ และกรรมวิธีในการพิมพ์ให้ดีขึ้นเรื่อย ๆ จึงเป็นที่ยอมรับว่าเป็น บิดาแห่งการพิมพ์ของโลก และเป็นผู้คิดค้น การเรียงตัวเรียงพิมพ์ การพิมพ์ระบบเลตเตอร์เพรส มาโช ฟินิเกอรา ชาวอิตาเลียนได้ใช้แผ่นทองแดงเป็นแม่พิมพ์แทนท่อนไม้แบบของชาวจีน ในยุคนั้นได้มีการใช้พิมพ์ภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ ในประวัติศาสตร์ และภาพทางศาสนา ซึ่งมีการเรียกกรรมวิธีการพิมพ์นี้ว่า การพิมพ์อินทาโย วอชิงตัน รูเบล ได้ค้นพบวิธีทำให้ภาพคมชัดขึ้นโดยบังเอิญ กล่าวคือ แทนที่จะให้กระดาษรับหมึกโดยตรงจากแม่พิมพ์ ก็ให้ผ้ายางเป็นผู้กดทับ และรับหมึกจากแม่พิมพ์ก่อน แล้วผ้ายางจึงกดทับถ่ายหมึกที่เป็นภาพพิมพ์ไปยังกระดาษอีกที เนื่องจากผ้ายางมีความนิ่ม การส่งถ่ายหมึกจึงสมบูรณ์ 

ยาปฏิชีวนะ

ปี 1877  Louis  Pasteur และ Robert  Koch อธิบายการใช้ยาปฏิชีวนะเป็นครั้งแรก ต่อมาในปี 1928 Alexander Flening ได้ค้นพบระบุว่ายา Pemicillin นั้นสามารถทำได้จาก ราชนิดหนึ่ง และในช่วงศตวรรษที่ 20 นี้ยาปฏิชีวนะได้รับการพัฒนาอย่างรวดเร็วและส่งไปทั่วโลก 

สงคราม อ่าวเปอร์เซีย

สาเหตุของสงครามนั้นมีหลายสาเหตุ เช่น การอ้างดินแดนบริเวณประเทศคูเวตของอิรัก  และ การที่อิรักกล่าวหาคูเวตมากมาย เช่น เกินโควตาของ OPEC สำหรับการผลิตน้ำมัน และ ปัญหาในแถบอาหรับ ซึ่งสงครามครั้งนี้จะทำให้ ซัดดัม ฮุสเซน ลงจากอำนาจ ประธานาธิบดี แห่งประเทศอิรัก 

ลำดับของเหตุการณ์สำคัญใน สงคราม อ่าว

   Timeline in Gufl war 1990 - 1991

ในเหตุการณ์ครั้งนี้  เริ่มต้นโดย  การรุกรานคูเวตของอิรัก ในวันที่   2 สิงหาคม 2533 – 4 สิงหาคม 2533 โดยใช้เวลาเพียง 2 วัน เท่านั้น  โดยการนำของ " ซัดดัม  ฮุสเซน "  ซึ่งความขัดแย้งระหว่าง    อิรัก กับ คูเวต  นั้นเกิดขึ้นมาแล้ว  ซึ่งความขัดแย้งนี้เกิด  อิรักมีการอ้างสิทธิ์ต่อคูเวต อย่างไม่เปิดเผย โดยที่อิรัก และ คูเวต นั้น เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิออตโตมัน แต่ในปี พ.ศ. 2475  อิรักได้รับเอกราช จึงสถาปนา   ราชอาณาจักรอิรักประกาศทันทีว่าชีคโดมแห่งคูเวตเป็นดินแดนของอิรักโดยชอบธรรม      โดยอ้างว่าเคยเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนอิรัก  แต่อังกฤษสถาปนาขึ้น     สาธารณรัฐอิรักภายใต้การนำของ " อับด์อัล คาริม กาซิม " ยังอ้างสิทธิ์อย่างไม่เปิดเผยต่อคูเวตอีกด้วย     ต่อมาใน รัฐบาลของ " ซัดดัม ฮุสเซน " ก็เชื่อสิ่งนี้เช่นกันและให้เหตุผลในการรุกรานโดยอ้างว่าคูเวตเป็นส่วนสำคัญของอิรักมาโดยตลอดและกลายเป็นรัฐเอกราชเพียงเพราะการแทรกแซงของรัฐบาล อังกฤษ  รัฐบาลอังกฤษวางแผนที่จะแยกคูเวตออกจากดินแดนออตโตมัน   แต่ข้อตกลงนี้ไม่เคยให้สัตยาบัน รัฐบาลอิรักยังแย้งว่าประมุขคูเวตเป็นบุคคลที่ไม่ได้รับความนิยมอย่างมากในหมู่ประชากรคูเวต ด้วยการโค่นล้มประมุข