ู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ระวิง เรืองสังข์
Asst. Prof. Dr. Rawing Ruangsanka

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ด้านการบริหารการศึกษา

ประวัติการศึกษา


ค.ด. (บริหารการศึกษา)

Ed.D. (Educational Administration)

มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์, ๒๕๕๘


บธ.ม. (การจัดการตลาด)

M.B.A. (Marketing Management)

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, ๒๕๔๘


พธ.บ. (รัฐศาสตร์)

B.A. (Political Science)

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๘

งานวิจัย


วนิดา กำพลรัตน์, ระวิง เรืองสังข์, พระมหาญาณวัฒน์ ฐิตวฑฺฒโน. การจัดการเรียนรู้ตามหลักไตรสิกขาของนักเรียน สำหรับโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร, วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๖๖). หน้า ๖๐-๗๔.ประวิทย์ ชัยสุข, ระวิง เรืองสังข์, เกษม แสงนนท์. กลยุทธ์การสื่อสารองค์กรของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยในยุคดิสรัปชั่น. วารสารบวรสหการศึกษาและมนุษยสังคมศาสตร์, ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๖),  หน้า ๑๖๔-๑๗๓.สิรินุช บุสโร, อินถา ศิริวรรณ, ระวิง เรืองสังข์. แนวทางการพัฒนาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนบาลี สำนักเรียนดีเด่นหนกลาง โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดพระธรรมกาย. วารสารพุทธปรัชญาวิวัฒน์. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๖), หน้า ๒๗๔-๒๘๘.เกตุชญา วงษ์เพิก, ระวิง เรืองสังข์, อินถา ศิริวรรณ. ศึกษาสภาพการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. วารสารครุศาสตรปริทรรศน์ฯ. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน) ๒๕๖๖. หน้า ๒๘๗-๒๙๕.ปราณี นาคทอง, ระวิง เรืองสังข์, อินถา ศิริวรรณ. การจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. วารสารครุศาสตรปริทรรศน์ฯ. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม) ๒๕๖๖. หน้า ๔๔๓-๔๕๑.ภัค วรธนเตชินท์, ระวิง เรืองสังข์, ทองดี ศรีตระการ. การสร้างความผูกพันตามหลักพุทธธรรมต่อองค์กรของครู สำหรับโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ , วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์. ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑ (มกราคม - เมษายน ๒๕๖๖). หน้า ๑๓๕-๑๔๙.ไพผกา ผิวดำ, ระวิง เรืองสังข์, ยุทธวีร์ แก้วทองใหญ่. การศึกษาสภาพการบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. วารสารครุศาสตรปริทรรศน์ฯ. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน) ๒๕๖๖. หน้า ๓๙๘-๔๐๕.ไพผกา ผิวดำ, ระวิง เรืองสังข์, ยุทธวีร์ แก้วทองใหญ่. รูปแบบการบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ ตามหลักพุทธธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์. ปีีที่่ ๒๓ ฉบับที่่ ๒ (เมษายน - มิถุุนายน ๒๕๖๖), หน้า ๙๗-๑๐๘
ภัค วรธนเตชินท์, ระวิง เรืองสังข์ และทองดี ศรีตระการ. รูปแบบการสร้างความผูกพันตามหลักพุทธธรรมต่อองค์กรของครูสำหรับโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร, วารสาร มจร การพัฒนาสังคม, ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๓ (กันยายน–ธันวาคม ๒๕๖๕), หน้า ๑๘๑-๑๙๕.ปมิกา สุขสําราญ, อินถา ศิริวรรณ และระวิง เรืองสังข์. รูปแบบการส่งเสริมการลดพฤติกรรมความก้าวร้าวของนักเรียนตามหลักพุทธธรรมสำหรับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา, วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม) ๒๕๖๕, หน้า ๘๘-๑๐๒.พระครูกิตติญาณวิสิฐ (ธนา หอมหวล), พระครูวิรุฬห์สุตคุณ (อุดมศักดิ์), ระวิง เรืองสังข์ และสุทิศ สวัสดี, “แนวทางการพัฒนาพื้นที่นวัตกรรมทางการศึกษา”, วารสารศิลปะการจัดการ, ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๕): ๗๔๗-๗๖๓.พระมหาชวลิต โฆสชโว (โภควรากร), พระครูสังฆรักษ์จักรกฤษณ์ ภูริปญฺโญ และระวิง เรืองสังข์, “แนวทางการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ตามหลักพุทธบริหารการศึกษา สำหรับวัดในจังหวัดปทุมธานี”, วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๖๕): ๑๑๕-๑๒๘.Phramaha Parinya Thachapanyo Prapchomphu, Rawing Ruangsanka, Phramaha Sombat Dhanapañño, Yudthawee Kaewtongyai, A Model of Effective Personnel Administration Based on Bhuddhadhamma for Primary Schools under Bangkok Metropolitan Administration, Journal of Positive School Psychology, 2022, Vol. 6, No. 3, 2848–2854, Scopus Index Q2Phramaha Apichart Chayamethi (Taworn), Rawing Ruangsanka, Phramaha Sombat Dhanapañño, PhrakhruOpatnontakitti (Sakda Obhaso), A Model of Leadership Development of Administrative Monks in the Central region Sangha Administration according to the Buddhist Reform Plan, Journal of Positive School Psychology, 2022, Vol. 6, No. 3, 2817–2824, Scopus Index Q2Phra Teeraphat Kulateero (Sitibavonsakul), Rawing Ruangsanka, Kasem Sangnont, Phramaha Padet Chirakulo. Strategy of Online Teaching Management in Schools under Office Secondary Educational, Turkish Journal of Physiotherapy and Rehabilitation; 32(3) :22040-22049.
ณรินรัตน์ ชัยศิริ, พระมหาสมบัติ ธนปญฺโญ และระวิง เรืองสังข์. รูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะตามหลักศีล 5 สําหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน, วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม) ๒๕๖๔, หน้า ๘๕-๙๘.พระมหาอภิชาติ ฌานสุโภ (ชัยหา), ระวิง เรืองสังข์ และอินถา ศิริวรรณ. รูปแบบการฝึกอบรมพระนวกะ สำหรับวัดในประเทศไทย, วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน) ๒๕๖๔, หน้า ๒๖-๓๙.พระอติคุณ ฐิตวโร (เอี่ยมดี), ระวิง เรืองสังข์ และอินถา ศิริวรรณ. อนาคตภาพการจัดการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรมของคณะสงฆ์ไทย, วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน) ๒๕๖๔, หน้า ๑๔-๒๕.พระใบฎีกาเอกกมล กิตฺติภทฺโท (บุญเกิดรอด), สุทธิพงษ์ ศรีวิชัย, ระวิง เรืองสังข์, “ศึกษาการพัฒนาคุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ ๒๑ โรงเรียนประถมศึกษาเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร”, วารสารบัณฑิตศาส์น มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, ปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๔): ๑๕-๒๖.สุพนิดา ทับทิมใส, พระครูกิตติญาณวิสิฐ และระวิง เรืองสังข์, “การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑”, วารสารสิรินธรปริทรรศน์, ปีที่ ๒๒ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๔): ๑๑๕-๑๒๖.Phra Watchara Devasirinago, Boonchert Chamnisart, Rawing Ruangsanka, Lampong Klomkul, (2021), A Model of Learner Development Activity Arrangement according to Buddhadhamma for Students in Schools under the Secondary Educational Service Area Office, Psychology and Education  Journal, 58(1), 3735-3741.Chantana Phumma, Somsak  Boonpoo, Rawing Ruangsanka, Phrakhrusophonsarophat (Apiwat Thitasaro), (2021),  A Model of Professional Learning Community Promotion based on Kalyanamitta Principles of Opportunity Expansion Schools under Office of Primary Educational Service Area, Psychology and Education  Journal, 58(1), 3671-3675.Phra Poompany Athimootto (Ngamprom), Phramaha Sombat Dhanapañño, Rawing Ruangsanka, (2021),  Model of Participative Academic Administration for Buddhist Temple Charity Schools, Psychology and Education  Journal, 58(1), 5510-5517.
บุญฤดี อุดมผล, พระมหาสมบัติ ธนปญฺโญ และระวิง เรืองสังข์. การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะความเป็นครูเชิงพุทธบูรณาการของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ, วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร, ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ มกราคม –มิถุนายน ๒๕๖๓, หน้า ๓๖-๕๕.สมหมาย ปวะบุตร, ระวิง เรืองสังข์ และพระมหาสมบัติ ธนปญฺโญ. การสร้างกระบวนการโค้ชด้วยหลักพุทธธรรมของครูพี่เลี้ยงในโรงเรียนร่วมพัฒนาวิชาชีพครู, วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร, ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๑ มกราคม –มิถุนายน ๒๕๖๓, หน้า ๙๑-๑๐๙.สุกานดา ปานเพชร, อินถา ศิริวรรณ และระวิง เรืองสังข์. การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมตามหลักพุทธบริหารการศึกษาในการขับเคลื่อนแผนการศึกษาแห่งชาติสำหรับสภาการศึกษาแห่งชาติ, วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม) ๒๕๖๓, หน้า ๓๑๓-๓๒๕.
มนวิภา พวงลำเจียก, สมศักดิ์ บุญปู่, ระวิง เรืองสังข์ และอิษยา สาธรสันติกุล. รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นําทางความคิดสร้างสรรค์ตามหลักโยนิโสมนสิการสําหรับผู้บริหารสถานศึกษาปฐมวัยสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๖ (สิงหาคม ๒๕๖๒), หน้า ๒๙๘๘-๓๐๐๖.พระมหาสายัญ ถิรปญฺโญ ชาญชาติ, สมศักดิ์ บุญปู่ และระวิง เรืองสังข์. การพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา, วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๓ (พฤษภาคม ๒๕๖๒), หน้า ๑๑๓๐-๑๑๔๗.พระมหาญาณพล ญาณปญฺโญ, อินถา ศิริวรรณ และพระมหาญาณวัฒน์ ฐิตวฑฺฒโน. รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำด้านเผยแผ่สำหรับพระสังฆาธิการในเขตการปกครองคณะสงฆ์ฝั่งอันดามัน, วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๕ (กันยายน-ตุลาคม ๒๕๖๒), หน้า ๑๓๐๖-๑๓๑๗.พระมหาสันติชัย อภิสนฺติ โพนศรีสม, สุทธิพงษ์ ศรีวิชัย และระวิง เรืองสังข์, “การศึกษาแนวทางการจัดการเรียนการสอนวิชาพระพุทธศาสนาตามหลักอริยสัจ ๔ สำหรับโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา กลุ่ม ๓”, วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๖๒): ๒๑๘-๒๓๐.รุจิรัตน์ พวงโต, สุทธิพงษ์ ศรีวิชัย และระวิง เรืองสังข์, “การบริหารงานกิจการนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา”, วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๖๒): ๑๗๔-๑๘๕. ประนอม กรีอารีย์, สุทธิพงษ์ ศรีวิชัย, ระวิง เรืองสังข์, และพงศธร มหาวิจิตร, “รูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครูต้นแบบตามหลักไตรสิกขา สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา”, วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๗ (กันยายน ๒๕๖๒): ๓๕๐๘-๓๕๒๗.ฐิตินันท์ ปั่นมาก, พระครูกิตติญาณวิสิฐ และระวิง เรืองสังข์, “การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานคร,” วารสารมหาจุฬาวิชาการ, ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๒): ๒๘๐-๒๙๒. 
พระวรธนกร กิตฺติญาโณ (แก้วพิลา), สมศักดิ์ บุญปู่, ระวิง เรืองสังข์ และสมหมาย จันทร์เรือง, การพัฒนาทักษะการบริหารสถานศึกษาสำหรับผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา, วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๑, หน้า ๖๖-๗๖.
ราตรี รัตนโสภ, สิน งามประโคน และระวิง เรืองสังข.“การศึกษาการดําเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา”.วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๔ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๐) : ๑๑๔-๑๒๖.ณัฏฐนันท์ มันตะพงศ์, สุทธิพงษ์ ศรีวิชัย และระวิง เรืองสังข์. “รูปแบบการบริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ตามหลักพุทธธรรม สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา”. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (เมษายน-มิถุนายน ๒๕๖๐) : ๕๘๓-๖๙๕.
พระมหาสมหมาย ตเมโธ, พระมหาสหัส ตสาโร และระวิง เรืองสังข. “กลยุทธการสรางแรงจูงใจในการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของสํานักเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๕๙) : ๕๙-๗๑.บุญเชิด  ชำนิศาสตร์. “การบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผลของคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๓  ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๙) : ๓๐-๔๖.บุญเชิด  ชำนิศาสตร์. “รูปแบบการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมเชิงพุทธในสถานศึกษา”. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๙) : ๑๕๗-๑๖๗.

บทความทางวิชาการ


Phramaha Parinya Thachapanyo (Prapchomphu), Rawing Ruangsanka, Phramaha Sombat Dhanapañño. Leadership of Educational Change in Thailand 4.0. ASEAN Journal of Religious and Cultural Research (2021) 4(3):15-19.
พระปลัดสมเกียรติ อํสุธโร, อินถา ศิริวรรณ และระวิง เรืองสังข์. การบริหารงานบุคคลในยุคดิจิทัล, บัณฑิตศึกษาปริทรรศน์วิทยาลัยสงฆ์นครสวรรค์, ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑ มกราคม-สิงหาคม ๒๕๖๔, หน้า ๗๑-๘๔.
ดาราวรรณ ศรีกาญจนา, สมศักดิ์ บุญปู่ และระวิง เรืองสังข์. องค์ประกอบภาวะผู้นำทางวิชาการ: ผู้นำแนวพุทธ, วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง, ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๒), หน้า ๒๒๖- ๒๓๖.
พระมหาญาณวัฒน์ ฐิตวฑฺฒโน และระวิง เรืองสังข์. “การปฏิรูปการศึกษาโดยอาศัยแนวคิดทางการศึกษาของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)”. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๓ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๕๙) : ๕๙-๗๑.พระครูโอภาสกิตติวัฒน์, ระวิง เรืองสังข์. “การพัฒนาวัดเป็นแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรมที่ยั่งยืน” วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๕๙) : ๕๙-๗๑.

หนังสือ/ตำรา


ระวิง  เรืองสังข์. การบริหารการศึกษา : หลักการ แนวคิด ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้. พระนครศรีอยุธยา : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๙.