ESPReL

Checklist

หมวดที่ 1 การบริหารระบบการจัดการด้านความปลอดภัย

  1. มีนโยบายด้านความปลอดภัย ครอบคลุม ในระดับต่อไปนี้

  1. มีแผนงานด้านความปลอดภัย ครอบคลุม ในระดับต่อไปนี้

  1. มีโครงสร้างการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยในระดับต่อไปนี้

  1. ห้องปฏิบัติการได้กำหนดผู้รับผิดชอบดูแลด้านความปลอดภัยในเรื่องต่อไปนี้ เอกสารแนบ

  • การจัดการสารเคมี

  • การจัดการของเสีย

  • ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเครื่องมือ

  • การป้องกันและแก้ไขภัยอันตราย

  • การให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ

  • การจัดการข้อมูลและเอกสาร

  • อื่นๆ

หมวดที่ 2 ระบบการจัดการสารเคมี

2.1 ระบบการจัดการสารเคมี - การจัดการข้อมูลสารเคมี

1. ระบบบันทึกข้อมูล

1. มีการบันทึกข้อมูลสารเคมีในรูปแบบ

2. โครงสร้างของข้อมูลสารเคมีที่บันทึก ประกอบด้วย เอกสารแนบ

  • รหัสภาชนะบรรจุ (Bottle ID)

  • ชื่อสารเคมี (Chemical name)

  • CAS no.

  • ประเภทความเป็นอันตราย ระบุระบบประเภทความเป็นอันตรายที่ใช้ : ChemAlert Chemical incompatibility color coding system ของ Department of Microbiology , University of Manitoba

  • ขนาดบรรจุของขวด

  • ปริมาณสารเคมีคงเหลือในขวด (chemical volume/weight)

  • Grade

  • ราคา (Price)

  • ที่จัดเก็บสารเคมี (location)

  • วันที่รับเข้ามา (Received date)

  • วันที่เปิดใช้ขวด

  • ผู้ขาย/ผู้จำหน่าย (Supplier)

  • ผู้ผลิต (Manufacturer)

  • วันหมดอายุ (expiry date)

2. สารบบสารเคมี (Chemical inventory) เอกสารแนบ

1. มีการบันทึกข้อมูลการนำเข้าสารเคมี

  • ใช่

2. มีการบันทึกข้อมูลการจ่ายออกสารเคมี

  • ใช่

3. มีการปรับข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างสม่ำเสมอ

  • ใช่ : ความถี่ของการตรวจสอบและปรับฐานข้อมูล ปีละ 2 ครั้ง

4. มีรายงานที่แสดงความเคลื่อนไหวของสารเคมีในห้องปฏิบัติการ

โดยอย่างน้อยต้องประกอบด้วยทุกหัวข้อต่อไปนี้ เอกสารแนบ

  • ชื่อสารเคมี

  • CAS no.

  • ประเภทความเป็นอันตรายของสารเคมี

  • ปริมาณคงเหลือ

  • สถานที่เก็บ

3. การจัดการสารที่ไม่ใช้แล้ว (Clearance)

1. มีแนวปฏิบัติในการจัดการสารที่ไม่ใช้แล้ว ดังนี้ เอกสารแนบ(1) เอกสารแนบ(2) เอกสารแนบ(3) เอกสารแนบ(4)

  • สารที่ไม่ต้องการใช้

  • สารที่หมดอายุตามฉลาก

  • สารที่หมดอายุตามสภาพ

4. การใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ

1. มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารเคมีเพื่อ

  • การประเมินความเสี่ยง : สารเคมีที่มีความเสี่ยง จะมีการจัดซื้ออุปกรณ์ป้องกัน

  • การจัดสรรงบประมาณ : มีการนำข้อมูลสารเคมีที่หมดไปตั้งงบประมาณทุกภาคการศึกษา

2.2 ระบบการจัดการสารเคมี - การจัดเก็บสารเคมี

1. ข้อกำหนดทั่วไปในการจัดเก็บสารเคมี

1. มีการแยกเก็บสารเคมีตามสมบัติการเข้ากันไม่ได้ของสารเคมี (chemical incompatibility)

  • ใช่ : การแยกเก็บสารละลายกรดและด่าง

2. เก็บสารเคมีของแข็งแยกออกจากของเหลวทั้งในคลังสารเคมีและห้องปฏิบัติการ

  • ใช่

3. หน้าตู้เก็บสารเคมีในพื้นที่ส่วนกลางมีการระบุ

4. จัดเก็บสารเคมีทุกชนิดอย่างปลอดภัยตามตำแหน่งที่แน่นอน และไม่วางสารเคมีบริเวณทางเดิน

  • ใช่

5. มีป้ายบอกบริเวณที่เก็บสารเคมีที่เป็นอันตราย

  • ใช่

6. มีระบบการควบคุมสารเคมีที่ต้องควบคุมเป็นพิเศษ

  • ไม่เกี่ยวข้อง

7. ไม่ใช้ตู้ดูดควันเป็นที่เก็บสารเคมีหรือของเสีย

  • ใช่

8. ไม่วางขวดสารเคมีบนโต๊ะและชั้นวางของโต๊ะปฏิบัติการอย่างถาวร

  • ใช่

2. ข้อกำหนดสำหรับการจัดเก็บสารไวไฟ

1. เก็บสารไวไฟให้ห่างจากแหล่งความร้อน แหล่งกำเนิดไฟ เปลวไฟ ประกายไฟ และแสงแดด

  • ใช่

2. เก็บสารไวไฟในห้องปฏิบัติการในภาชนะที่มีความจุไม่เกิน 20 ลิตร

  • ใช่

3. เก็บสารไวไฟในห้องปฏิบัติการไม่เกิน 10 แกลลอน (38 ลิตร) ถ้ามีเกิน 10 แกลลอน (38 ลิตร) ต้องจัดเก็บไว้ในตู้สำหรับเก็บสารไวไฟโดยเฉพาะ

  • ใช่

4. เก็บสารไวไฟสูงในตู้ที่เหมาะสม

  • ไม่เกี่ยวข้อง (ไม่มีตู้สำหรับเก็บสารไวไฟโดยเฉพาะ)

3. ข้อกำหนดสำหรับการจัดเก็บสารกัดกร่อน

1. เก็บขวดสารกัดกร่อน (ทั้งกรดและเบส) ไว้ในระดับต่ำ

  • ใช่ : จัดเก็บไว้ชั้นล่างสุด หรือ ระดับต่ำที่สุดของตู้

2. เก็บขวดกรดในตู้เก็บกรดโดยเฉพาะ และมีภาชนะรองรับที่เหมาะสม

  • ใช่ : จัดเก็บในตู้เก็บกรด และใช้ถาดพลาสติกเป็นภาชนะรองรับ

4. ข้อกำหนดสำหรับการจัดเก็บแก๊ส (ไม่มีการใช้ถังแก๊สในห้องปฏิบัติการ)

  • เก็บถังแก๊สโดยมีอุปกรณ์ยึดที่แข็งแรง

  • ถังแก๊สที่ไม่ได้ใช้งานทุกถังต้องมีฝาครอบหัวถังหรือมี guard ป้องกันหัวถัง

  • มีพื้นที่เก็บถังแก๊สเปล่ากับถังแก๊สที่ยังไม่ได้ใช้งาน และติดป้ายระบุไว้อย่างชัดเจน

  • ถังแก๊สมีที่วางปลอดภัยห่างจากความร้อน แหล่งกำเนิดไฟ และเส้นทางสัญจรหลัก

  • เก็บถังแก๊สออกซิเจนห่างจากถังแก๊สเชื้อเพลิง แก๊สไวไฟ และวัสดุไหม้ไฟได้ อย่างน้อย 6 เมตร หรือมีฉาก/ผนังกั้นที่ไม่ติดไฟ

5. ข้อกำหนดสำหรับการจัดเก็บสารออกซิไดซ์ (Oxidizers) และสารก่อให้เกิดเพอร์ออกไซด์

1. เก็บสารออกซิไดซ์และสารที่ก่อให้เกิดเพอร์ออกไซด์ห่างจากความร้อน แสง และแหล่งกำเนิดประกายไฟ

  • ไม่เกี่ยวข้อง

2. เก็บสารที่มีสมบัติออกซิไดซ์ไว้ในภาชนะแก้วหรือภาชนะที่มีสมบัติเฉื่อย คำอธิบายเพิ่มเติม

  • ใช่

3. ใช้ฝาปิดที่เหมาะสม สำหรับขวดที่ใช้เก็บสารออกซิไดซ์ คำอธิบายเพิ่มเติม

  • ใช่

4. ภาชนะบรรจุสารที่ก่อให้เกิดเพอร์ออกไซด์ต้องมีฝาปิดที่แน่นหนา

  • ใช่

5. มีการตรวจสอบการเกิดเพอร์ออกไซด์อย่างสม่ำเสมอ

  • ไม่เกี่ยวข้อง

6. ข้อกำหนดสำหรับการจัดเก็บสารที่ไวต่อปฏิกิริยา

1. มีป้ายคำเตือนที่ชัดเจนบริเวณหน้าตู้หรือพื้นที่ที่เก็บสารที่ไวต่อปฏิกิริยา (เช่น ป้าย “สารไวต่อปฏิกิริยา – ห้ามใช้น้ำ”)

  • ไม่เกี่ยวข้อง

2. เก็บสารไวปฏิกิริยาต่อน้ำออกห่างจากแหล่งน้ำที่อยู่ในห้องปฏิบัติการ

  • ไม่เกี่ยวข้อง

3. มีการตรวจสอบสภาพการเก็บที่เหมาะสมของสารที่ไวต่อปฏิกิริยาอย่างสม่ำเสมอ

  • ไม่เกี่ยวข้อง

7. ภาชนะบรรจุภัณฑ์และฉลากสารเคมี

1. เก็บสารเคมีในภาชนะที่เหมาะสมตามประเภทของสารเคมี

  • ใช่

2. ภาชนะที่บรรจุสารเคมีทุกชนิดต้องมีการติดฉลากที่เหมาะสม

  • ใช่

3. ตรวจสอบความบกพร่องของภาชนะบรรจุสารเคมีและฉลากอย่างสม่ำเสมอ เอกสารแนบ

  • ใช่ : ตรวจสอบและบันทึกผลในแบบฟอร์มตรวจสอบความบกพร่องของภาชนะและฉลากบรรจุสารเคมี โดยตรวจสอบทุกภาคการศึกษา/ปีละ 2 ครั้ง

8. เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (Safety Data Sheet, SDS)

1. เก็บ SDS ในรูปแบบ เอกสารแนบ

  • เอกสาร

  • อิเล็กทรอนิกส์

2. เก็บ SDS อยู่ในที่ที่ทุกคนในห้องปฏิบัติการเข้าดูได้ทันที เมื่อต้องการใช้ หรือเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน

  • ใช่ : จัดเก็บในห้องปฏิบัติการ และตู้จัดเก็บสารเคมี

3. SDS มีข้อมูลครบทั้ง 16 ข้อ

  • ใช่

4. มี SDS ของสารเคมีอันตรายทุกตัวที่อยู่ในห้องปฏิบัติการ คำอธิบายเพิ่มเติม

  • ใช่ : จำนวนสารเคมีอันตรายที่มีในห้องปฏิบัติการ มี 15 สารเคมี

5. มี SDS ที่ทันสมัย เอกสารแนบ

  • ใช่ : มีการปรับปรุงปีละ 1 ครั้ง

2.3 ระบบการจัดการสารเคมี - การเคลื่อนย้ายสารเคมี

1. การเคลื่อนย้ายสารเคมีภายในห้องปฏิบัติการ

1. ผู้ที่ทำการเคลื่อนย้ายสารเคมีใช้อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลที่เหมาะสม

  • ใช่ : อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลที่ใช้ ถุงมือ

2. ปิดฝาภาชนะที่บรรจุสารเคมีที่จะเคลื่อนย้ายให้สนิท

3. ใช้รถเข็นที่มีแนวกั้นเมื่อมีการเคลื่อนย้ายสารเคมีพร้อมกันหลายๆ ขวด

4. ใช้ตะกร้าหรือภาชนะรองรับในการเคลื่อนย้ายสารเคมี

5. เคลื่อนย้ายสารเคมีที่เป็นของเหลวไวไฟในภาชนะรองรับที่มีวัสดุกันกระแทก

  • ใช่ : ถังพลาสติก (ใช้ฟองน้ำหรือบับเบิลเป็นวัสดุกันกระแทก)

6. ใช้ถังยางในการเคลื่อนย้ายสารกัดกร่อนที่เป็นกรดและตัวทำละลาย คำอธิบายเพิ่มเติม

  • ไม่ใช่

7. เคลื่อนย้ายสารที่เข้ากันไม่ได้ในภาชนะรองรับที่แยกกัน

2. การเคลื่อนย้ายสารเคมีภายนอกห้องปฏิบัติการ

1. ใช้ภาชนะรองรับและอุปกรณ์เคลื่อนย้ายที่มั่นคงปลอดภัย ไม่แตกหักง่าย และมีที่กันขวดสารเคมีล้ม

2. ใช้รถเข็นมีแนวกั้นกันขวดสารเคมีล้ม

3. เคลื่อนย้ายสารที่เข้ากันไม่ได้ ในภาชนะรองรับที่แยกกัน

4. ใช้ลิฟท์ขนของในการเคลื่อนย้ายสารเคมีและวัตถุอันตรายระหว่างชั้น

  • ไม่เกี่ยวข้อง (ไม่มีลิฟท์เฉพาะในการขนย้ายสารเคมี)

5. ใช้วัสดุดูดซับสารเคมีหรือวัสดุกันกระแทกขณะเคลื่อนย้าย

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการของเสีย

3.1 ระบบการจัดการของเสีย - การจัดการข้อมูลของเสีย

1. ระบบบันทึกข้อมูล

1. มีการบันทึกข้อมูลของเสียในรูปแบบ

2. โครงสร้างของข้อมูลของเสียที่บันทึก ประกอบด้วย เอกสารแนบ

  • ผู้รับผิดชอบ

  • รหัสของภาชนะบรรจุ

  • ประเภทของเสีย

  • ปริมาณของเสีย

  • วันที่บันทึกข้อมูล

  • ห้องที่เก็บของเสีย

  • อาคารที่เก็บของเสีย (ไม่มีอาคารที่เก็บของเสียโดยเฉพาะ)

2. การรายงานข้อมูล

1. มีการรายงานข้อมูลของเสียที่เกิดขึ้น

2. มีรูปแบบการรายงานที่ชัดเจน เพื่อรายงานความเคลื่อนไหว ข้อมูลในรายงานอย่างน้อยประกอบด้วยทุกหัวข้อต่อไปนี้ 1) ประเภทของเสีย 2) ปริมาณของเสีย

3. มีการรายงานข้อมูลของเสียที่กำจัดทิ้ง

4. มีการปรับข้อมูลเป็นปัจจุบันสม่ำเสมอ

  • ใช่ : มีการระบุความถี่ในการเก็บข้อมูลไว้ในเอกสาร บันทึกรายงานข้อมูลทุกจบภาคการศึกษา/ปีละ 2 ครั้ง หรือตามเหตุความจำเป็น

3. การใช้ประโยชน์จากข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ

1. มีการใช้ประโยชน์จากข้อมูลของเสียเพื่อ เอกสารแนบ

  • การประเมินความเสี่ยง : ประเมินความเสี่ยงจากการนำข้อมูลของของเสียมาวิเคราะห์เพื่อประเมินอันตรายที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างที่ของเสียเหล่านั้นยังไม่ได้ถูกเคลื่อนย้ายออกไปจากส่วนงาน

  • การจัดเตรียมงบประมาณในการกำจัด : ประมาณค่าใช้จ่ายที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากข้อมูลปริมาณของเสียที่ส่งกำจัดในแต่ละครั้ง เพื่อนำมาจัดเตรียมงบประมาณในปีถัดไป

3.2 ระบบการจัดการของเสีย - การเก็บของเสีย

การเก็บของเสีย

  1. มีการแยกของเสียอันตรายออกจากของเสียทั่วไป

  • ใช่ : ของเสียที่แยก แนฟทาลีนผสมเบนโซอิคเอซิต จะใส่ขวด waste แยกไว้รอกำจัด

2. มีเกณฑ์ในการจำแนกประเภทของเสียที่เหมาะสม

3. แยกของเสียตามเกณฑ์ ที่ระบุในข้อ 2

  • ใช่

4. ใช้ภาชนะบรรจุของเสียที่เหมาะสมตามประเภท

  • ใช่ : ภาชนะที่ใช้ ขวดแก้วสีชา

5. ติดฉลากภาชนะบรรจุของเสียทุกชนิดอย่างถูกต้องและเหมาะสม

6. ตรวจสอบความบกพร่องของภาชนะและฉลากของเสียอย่างสม่ำเสมอ

  • ใช่ : ตรวจสอบทุกภาคการศึกษา โดยภาชนะจะต้อง ไม่มีรอยรั่ว หรือรอยแตกร้าว ฉลากสมบูรณ์ มีข้อมูลครบถ้วน ข้อความบนฉลากมีความชัดเจน ไม่จาง ไม่เลือน

7. บรรจุของเสียในปริมาณไม่เกิน 80% ของความจุของภาชนะ

  • ใช่

8. มีพื้นที่/บริเวณที่เก็บของเสียที่แน่นอน

9. มีภาชนะรองรับขวดของเสียที่เหมาะสม

10. แยกภาชนะรองรับขวดของเสียที่เข้ากันไม่ได้

  • ใช่

11. วางภาชนะบรรจุของเสียห่างจากบริเวณอุปกรณ์ฉุกเฉิน

  • ใช่

12. วางภาชนะบรรจุของเสียห่างจากความร้อน แหล่งกำเนิดไฟ และเปลวไฟ

  • ใช่

13. เก็บของเสียประเภทไวไฟในห้องปฏิบัติการ ไม่เกิน 10 แกลลอน (38 ลิตร) ถ้ามีเกิน 10 แกลลอน (38 ลิตร) ต้องจัดเก็บไว้ในตู้สำหรับเก็บสารไวไฟโดยเฉพาะ

  • ใช่

14. กำหนดปริมาณรวมสูงสุดของของเสียที่อนุญาตให้เก็บได้ในห้องปฏิบัติการ

  • ใช่ : ปริมาณสูงสุดของของเสียที่เก็บ ไม่เกิน 20 L

15. กำหนดระยะเวลาเก็บของเสียในห้องปฏิบัติการ

  • ใช่ : ระยะเวลาเก็บของเสีย ทุกภาคการศึกษา

3.3 ระบบการจัดการของเสีย - การลดการเกิดของเสีย

การลดการเกิดของเสีย

1. มีแนวปฏิบัติหรือมาตรการในการลดการเกิดของเสียในห้องปฏิบัติการ

2. ลดการใช้สารตั้งต้น (Reduce)

  • ใช่ : การลดการใช้สารตั้งต้น

- ลดปริมาณการใช้ตัวทำละลายโดยการเทตัวทำละลายมาเท่าที่จำเป็นต้องใช้

- ลดขนาด (scale) ของการทดลองโดยใช้สารปริมาณลดลงหรือระดับเจือจางในการทดลอง

- ลดการใช้สารเคมี ด้วยการสาธิตหรือการใช้สื่อการสอนแทนการทดลองจริง

- ให้คำแนะนำที่ถูกต้องในการลดปริมาณของเสีย

- ใช้อะซิโตนล้างเครื่องแก้วควรทำเฉพาะเท่าที่จำเป็น อย่าใช้อะซิโตนแทนน้ำในการล้างเครื่องแก้ว

3. ใช้สารทดแทน (Replace)

  • ใช่ : การใช้สารทดแทน ใช้ Dichloromethane แทนการใช้ Chloroform

4. ลดการเกิดของเสีย ด้วยการ

  • Reuse : ใช้ซ้ำโดยการ

- การนำตัวทำละลายที่เหลือใช้มาล้างภาชนะ

- การนำภาชนะบรรจุสารเคมีกลับมาใช้ใหม่ (ล้างขวดให้ละอาดและทำให้แห้ง จากนั้นจึงนำไปใช้เป็นภาชนะบรรจุของเสียอันตรายหรือนำกลับมาใช้ใหม่)

- การนำผงถ่าน ผงอะลูมินา กลับมาใช้ใหม่

- การหลอมโลหะเงินกลับมาใช้ใหม่

  • Recovery/ Recycle : การ Recover โลหะมีค่า เช่น แพลทินัม เงิน ทอง ฯลฯ

3.4 ระบบการจัดการของเสีย - การบำบัดและกำจัดของเสีย

การบำบัดและกำจัดของเสีย เอกสารแนบ

1. บำบัดของเสียก่อนทิ้ง

  • ใช่ : วิธีการบำบัดโดยการกรอง และใช้น้ำล้างปริมาณมาก

2. บำบัดของเสียก่อนส่งกำจัด

  • ไม่ใช่

3. ส่งของเสียไปกำจัดโดยบริษัทที่ได้รับใบอนุญาต เอกสารแนบ

  • ใช่ : บริษัทรับกำจัดที่คณะส่งของเสียไปกำจัด บริษัทรีไซเคิลเอนจิเนียริ่ง

หมวดที่ 4 ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเครื่องมือ

4.1 ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเครื่องมือ - งานสถาปัตยกรรม เอกสารแนบ

งานสถาปัตยกรรม เอกสารแนบ(1) เอกสารแนบ(2) เอกสารแนบ(3) เอกสารแนบ(4)

1. สภาพภายในและภายนอกที่ไม่ก่อให้เกิดอันตราย

  • ใช่

2. แยกส่วนที่เป็นพื้นที่ห้องปฏิบัติการ (laboratory space) ออกจากพื้นที่อื่นๆ (non–laboratory space)

  • ใช่

3. ขนาดพื้นที่และความสูงของห้องปฏิบัติการและพื้นที่เกี่ยวเนื่อง มีความเหมาะสมและเพียงพอกับการใช้งาน จำนวนผู้ปฏิบัติการ ชนิดและปริมาณเครื่องมือและอุปกรณ์ (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ใช่

4. วัสดุที่ใช้เป็นพื้นผิวของพื้น ผนัง เพดาน อยู่ในสภาพที่ดี มีความเหมาะสมต่อการใช้งานและได้รับการดูแลและบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอ (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ใช่

5. ช่องเปิด (ประตู–หน้าต่าง) มีขนาดและจำนวนที่เหมาะสม โดยสามารถควบคุมการเข้าออกและเปิดออกได้ง่ายในกรณีฉุกเฉิน

  • ใช่

6. ประตูมีช่องสำหรับมองจากภายนอก (vision panel)

  • ใช่

7. มีหน้าต่างที่สามารถเปิดออกเพื่อระบายอากาศได้ สามารถปิดล็อคได้และสามารถเปิดออกได้ในกรณีฉุกเฉิน คำอธิบายเพิ่มเติม

  • ใช่

8. ขนาดทางเดินภายในห้อง (clearance) กว้างไม่น้อยกว่า 0.60 เมตร สำหรับทางเดินทั่วไป และกว้างไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร สำหรับช่องทางเดินในอาคาร

  • ใช่

9. บริเวณทางเดินและบริเวณพื้นที่ติดกับโถงทางเข้า–ออก ปราศจากสิ่งกีดขวาง

  • ใช่

10. บริเวณเส้นทางเดินสู่ทางออก ไม่ผ่านส่วนอันตราย หรือผ่านครุภัณฑ์ต่างๆ ที่มีความเสี่ยงอันตราย เช่น ตู้เก็บสารเคมี, ตู้ดูดควัน เป็นต้น (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ใช่

11. ทางสัญจรสู่ห้องปฏิบัติการแยกออกจากทางสาธารณะหลักของอาคาร (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ไม่เกี่ยวข้อง

12. มีการแสดงข้อมูลที่ตั้งและสถาปัตยกรรมที่สื่อสารถึงการเคลื่อนที่และลักษณะทางเดิน ได้แก่ ผังพื้น แสดงตำแหน่งและเส้นทางหนีไฟและตำแหน่งที่ตั้งอุปกรณ์ฉุกเฉิน

  • ใช่

4.2 ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเครื่องมือ - งานสถาปัตยกรรมภายใน

ครุภัณฑ์/เฟอร์นิเจอร์/เครื่องมือและอุปกรณ์

1. มีการควบคุมการเข้าถึงหรือมีอุปกรณ์ควบคุมการปิด–เปิดครุภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ เครื่องมือและอุปกรณ์

2. ครุภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่สูงกว่า 1.20 เมตร มีตัวยึดหรือมีฐานรองรับที่แข็งแรง ส่วนชั้นเก็บของหรือตู้ลอย มีการยึดเข้ากับโครงสร้างหรือผนังอย่างแน่นหนาและมั่นคง

  • ใช่

3. ครุภัณฑ์ เฟอร์นิเจอร์ เครื่องมือและอุปกรณ์ ควรมีความเหมาะสมกับขนาดและสัดส่วนร่างกายของผู้ปฏิบัติงาน (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

4. กำหนดระยะห่างระหว่างโต๊ะปฏิบัติการและตำแหน่งโต๊ะปฏิบัติการอย่างเหมาะสม (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

5. มีอ่างน้ำตั้งอยู่ในห้องปฏิบัติการอย่างน้อย 1 ตำแหน่ง

6. ครุภัณฑ์ต่างๆ เช่น ตู้ดูดควัน ตู้ลามินาโฟล์ว อยู่ในสภาพที่สามารถใช้งานได้ดีและมีการดูแลและบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอ

4.3 ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเครื่องมือ - งานวิศวกรรมโครงสร้าง

งานวิศวกรรมโครงสร้าง เอกสารแนบ

1. ไม่มีการชำรุดเสียหายบริเวณโครงสร้าง ไม่มีรอยแตกร้าวตามเสา – คาน มีสภาพภายนอกและภายในห้องปฏิบัติการที่ไม่ก่อให้เกิดอันตราย (สภาพภายนอก ได้แก่ สภาพบริเวณโดยรอบหรืออาคารข้างเคียง สภาพภายในตัวอาคารที่ติดอยู่กับห้องปฏิบัติการ) (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

2. โครงสร้างอาคารสามารถรองรับน้ำหนักบรรทุกของอาคาร (น้ำหนักของผู้ใช้อาคาร อุปกรณ์และเครื่องมือ) ได้ (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

3. โครงสร้างอาคารมีความสามารถในการกันไฟและทนไฟ รวมถึงรองรับเหตุฉุกเฉินได้ (มีความสามารถในการต้านทานความเสียหายของอาคารเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินในช่วงเวลาหนึ่งที่สามารถอพยพคนออกจากอาคารได้) (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

4. มีการตรวจสอบสภาพของโครงสร้างอาคารอยู่เป็นประจำ มีการดูแลและบำรุงรักษาอย่างน้อยปีละครั้ง

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

4.4 ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเครื่องมือ - งานวิศวกรรมไฟฟ้า

งานวิศวกรรมไฟฟ้า เอกสารแนบ

1. มีปริมาณแสงสว่างพอเพียงมีคุณภาพเหมาะสมกับการทำงาน (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

2. ออกแบบระบบไฟฟ้ากำลังของห้องปฏิบัติการให้มีปริมาณกำลังไฟพอเพียงต่อการใช้งาน (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

3. ใช้อุปกรณ์สายไฟฟ้า เต้ารับ เต้าเสียบ ที่ได้มาตรฐานและมีการติดตั้งแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าในบริเวณที่เหมาะสม (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

4. ต่อสายดิน (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

5. ไม่มีการต่อสายไฟพ่วง

  • ไม่ใช่

6. มีระบบควบคุมไฟฟ้าของห้องปฏิบัติการแต่ละห้อง

7. มีอุปกรณ์ตัดตอนไฟฟ้าขั้นต้น เช่น ฟิวส์ (fuse) เครื่องตัดวงจร (circuit breaker) ที่สามารถใช้งานได้

8. ติดตั้งระบบแสงสว่างฉุกเฉินในปริมาณและบริเวณที่เหมาะสม

9. มีระบบไฟฟ้าสำรองด้วยเครื่องกำเนิดไฟฟ้าในกรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

10. ตรวจสอบระบบไฟฟ้ากำลังและไฟฟ้าแสงสว่าง และดูแลและบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอ

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

4.5 ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเครื่องมือ - งานวิศวกรรมสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม

งานวิศวกรรมสุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม เอกสารแนบ

1. มีระบบน้ำดี น้ำประปา ที่ใช้งานได้ดี มีการเดินท่อและวางแผนผังการเดินท่อน้ำประปาอย่างเป็นระบบ และไม่รั่วซึม (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ใช่

2. แยกระบบน้ำทิ้งทั่วไปกับระบบน้ำทิ้งปนเปื้อนสารเคมีออกจากกัน และมีระบบบำบัดที่เหมาะสมก่อนออกสู่รางระบายน้ำสาธารณะ (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ) คำอธิบายเพิ่มเติม

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

3. ตรวจสอบระบบสุขาภิบาล และมีการดูแลและบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอ

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

4.6 ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเครื่องมือ - งานวิศวกรรมระบบระบายอากาศและปรับอากาศ

งานวิศวกรรมระบบระบายอากาศและปรับอากาศ เอกสารแนบ

1. มีระบบระบายอากาศที่เหมาะสมกับการทำงานและสภาพแวดล้อมของห้องปฏิบัติการ (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

2. ติดตั้งระบบปรับอากาศในตำแหน่งและปริมาณที่เหมาะสมกับการทำงานและสภาพแวดล้อมของห้องปฏิบัติการ (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

3. ในกรณีห้องปฏิบัติการไม่มีการติดตั้งระบบปรับอากาศและระบบระบายอากาศ (ระบบธรรมชาติ) ให้ติดตั้งระบบเครื่องกลเพื่อช่วยในการระบายอากาศในบริเวณที่ลักษณะงานก่อให้เกิดสารพิษหรือกลิ่นไม่พึงประสงค์

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

4. ตรวจสอบระบบระบายอากาศและระบบปรับอากาศ และมีการดูแลและบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอ

  • ใช่ : มีการตรวจสอบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

4.7 ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ อุปกรณ์และเครื่องมือ - งานระบบฉุกเฉินและระบบติดต่อสื่อสาร

งานระบบฉุกเฉินและระบบติดต่อสื่อสาร เอกสารแนบ

1. มีระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ด้วยมือ (manual fire alarm system)

  • ไม่ใช่

2. มีอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ เช่น อุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ด้วยอุณหภูมิความร้อน (heat detector) หรืออุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ด้วยควันไฟ (smoke detector)

  • ใช่

3. มีทางหนีไฟและป้ายบอกทางหนีไฟตามมาตรฐาน (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ใช่

4. มีเครื่องดับเพลิงแบบเคลื่อนที่

  • ใช่

5. มีระบบดับเพลิงด้วยน้ำชนิดมีตู้สายฉีดน้ำดับเพลิง

  • ใช่

6. มีระบบดับเพลิงด้วยน้ำชนิดระบบหัวกระจายน้ำดับเพลิง (ตามกฎหมายควบคุมอาคาร) หรือเทียบเท่า (หากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ)

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

7. มีระบบติดต่อสื่อสารของห้องปฏิบัติการในกรณีฉุกเฉิน เช่น โทรศัพท์สำนักงาน โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือระบบอินเตอร์เน็ตและระบบไร้สายอื่นๆ

  • ใช่

8. ตรวจสอบระบบฉุกเฉินและระบบติดต่อสื่อสาร และมีการดูแลและบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอ

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

9. แสดงป้ายข้อมูลที่เป็นตัวอักษร เช่น ชื่อห้องปฏิบัติการ ผู้ดูแลห้องปฏิบัติการ และข้อมูลจำเพาะอื่นๆ ของห้องปฏิบัติการ รวมถึงสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายสากลแสดงถึงอันตราย หรือเครื่องหมายที่เกี่ยวข้องตามที่กฎหมายกำหนด

  • ใช่

หมวดที่ 5 ระบบการป้องกันและแก้ไขภัยอันตราย

5.1 ระบบการป้องกันและแก้ไขภัยอันตราย - การบริหารความเสี่ยง

1. การระบุอันตราย (Hazard identification)

1. สำรวจความเป็นอันตรายจากปัจจัยต่อไปนี้ อย่างเป็นรูปธรรม เอกสารแนบ

  • สารเคมี/วัสดุที่ใช้

  • เครื่องมือหรืออุปกรณ์

  • ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการ

  • อื่นๆ

2. การประเมินความเสี่ยง (Risk assessment)

1. มีการประเมินความเสี่ยงในระดับ

2. การประเมินความเสี่ยงครอบคลุมหัวข้อต่อไปนี้

  • สารเคมีที่ใช้, เก็บ และทิ้ง

  • ผลกระทบด้านสุขภาพจากการทำงานกับสารเคมี

  • เส้นทางในการได้รับสัมผัส (exposure route)

  • พื้นที่ในการทำงาน/กายภาพ

  • เครื่องมือที่ใช้ในการทำงาน

  • สิ่งแวดล้อมในสถานที่ทำงาน

  • ระบบไฟฟ้าในที่ทำงาน

  • กิจกรรมที่ทำในห้องปฏิบัติการ

  • กิจกรรมที่ไม่สามารถทำร่วมกันได้ในห้องปฏิบัติการ

3. การจัดการความเสี่ยง (Risk treatment)

1. การป้องกันความเสี่ยง ในหัวข้อต่อไปนี้

  • มีพื้นที่เฉพาะ สำหรับกิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูง : มีพื้นที่ทำงานเฉพาะ เช่น ตู้ดูดควัน

  • มีการขจัดสิ่งปนเปื้อน (decontamination) บริเวณพื้นที่ที่ปฏิบัติงานภายหลังเสร็จปฏิบัติการ : มีอ่างล้างสิ่งปนเปื้อน และ ภายในตู้ดูดควันมีบริเวณที่สามารถล้างสิ่งปนเปื้อนได้

2. การลดความเสี่ยง (Risk reduction) ในหัวข้อต่อไปนี้

  • เปลี่ยนแปลงวิธีการปฏิบัติงานเพื่อลดการสัมผัสสาร

  • ประสานงานกับหน่วยงานขององค์กรที่รับผิดชอบเรื่องการจัดการความเสี่ยง

  • บังคับใช้ข้อกำหนด และ/หรือแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ เอกสารแนบ

  • ประเมิน/ตรวจสอบการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างสม่ำเสมอ อกสารแนบ

3. มีการสื่อสารความเสี่ยงด้วย

4. การตรวจสุขภาพ ผู้ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการจะได้รับการตรวจสุขภาพเมื่อ

  • ถึงกำหนดการตรวจสุขภาพทั่วไปประจำปี : มีสวัสดิการการตรวจสุขภาพทั่วไปประจำปี

  • ถึงกำหนดการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงของผู้ปฏิบัติงาน

  • มีอาการเตือน – เมื่อพบว่า ผู้ทำปฏิบัติการมีอาการผิดปกติที่เกิดขึ้นจากการทำงานกับสารเคมี วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในห้องปฏิบัติการ

  • เผชิญกับเหตุการณ์สารเคมีหก รั่วไหล ระเบิด หรือเกิดเหตุการณ์ที่ทำให้ต้องสัมผัสสารอันตราย

4. การรายงานการบริหารความเสี่ยง

1. มีการรายงานความเสี่ยงในระดับต่อไปนี้ เอกสารแนบ

5. การใช้ประโยชน์จากรายงานการบริหารความเสี่ยง

1. มีการใช้ข้อมูลจากรายงานการบริหารความเสี่ยง เพื่อ

  • การสอน แนะนำ อบรม แก่ผู้ปฏิบัติงาน เอกสารแนบ

  • การประเมินผล ทบทวน และวางแผนการปรับปรุงการบริหารความเสี่ยง

  • การจัดสรรงบประมาณในการบริหารความเสี่ยง

5.2 ระบบการป้องกันและแก้ไขภัยอันตราย - การเตรียมความพร้อม/ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

การเตรียมความพร้อม/ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

1. มีอุปกรณ์ต่อไปนี้ สำหรับตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน อยู่ในบริเวณที่สามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก

  • ที่ล้างตา

  • ชุดฝักบัวฉุกเฉิน

  • เวชภัณฑ์

  • ชุดอุปกรณ์สำหรับสารเคมีหกรั่วไหล

  • อุปกรณ์ทำความสะอาด

2. มีแผนป้องกันภาวะฉุกเฉินที่เป็นรูปธรรม

3. ซ้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ที่เหมาะสมกับหน่วยงาน

  • ไม่ใช่

4. ตรวจสอบพื้นที่และสถานที่เพื่อพร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

  • ไม่ใช่

5. ตรวจสอบเครื่องมือ/อุปกรณ์พร้อมตอบโต้ภาวะฉุกเฉินต่อไปนี้ อย่างสม่ำเสมอ

  • ทดสอบที่ล้างตา : ตรวจสอบทุกภาคการศึกษา/ปีละ 2 ครั้ง

  • ทดสอบฝักบัวฉุกเฉิน : ตรวจสอบทุกภาคการศึกษา/ปีละ 2 ครั้ง

  • ตรวจสอบและทดแทนเวชภัณฑ์สำหรับตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน : ตรวจสอบทุกภาคการศึกษา/ปีละ 2 ครั้ง

  • ตรวจสอบชุดอุปกรณ์สำหรับสารเคมีหกรั่วไหล : ตรวจสอบทุกภาคการศึกษา/ปีละ 2 ครั้ง

  • ตรวจสอบอุปกรณ์ทำความสะอาด : ตรวจสอบทุกภาคการศึกษา/ปีละ 2 ครั้ง

6. มีขั้นตอนการจัดการเบื้องต้นเพื่อตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ที่เป็นรูปธรรมในหัวข้อต่อไปนี้

  • การแจ้งเหตุภายในหน่วยงาน : การแจ้งเหตุ เป็นไปตามแผนปฏิบัติการบริหารความเสี่ยงของ วิทยาเขตจันทบุรี เอกสารแนบ

  • การแจ้งเหตุภายนอกหน่วยงาน : การแจ้งเหตุ เป็นไปตามแผนปฏิบัติการบริหารความเสี่ยงของ วิทยาเขตจันทบุรี เอกสารแนบ

  • การแจ้งเตือน : การแจ้งเหตุ เป็นไปตามแผนคู่มือการเตรียมการป้องกันเหตุฉุกเฉินและการอพยพ ของคณะ เอกสารแนบ

  • การอพยพคน : การอพยพ เป็นไปตามแผนคู่มือการเตรียมการป้องกันเหตุฉุกเฉินและการอพยพ ของคณะ เอกสารแนบ

5.3 ระบบการป้องกันและแก้ไขภัยอันตราย - ข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยโดยทั่วไป

1. ความปลอดภัยส่วนบุคคล (Personal safety)

1. มีอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล (Personal Protective Equipments, PPE) ที่เหมาะสมกับกิจกรรมในห้องปฏิบัติการ ได้แก่

  • อุปกรณ์ป้องกันหน้า (face protection)

  • อุปกรณ์ป้องกันตา (eye protection) แว่นตา

  • อุปกรณ์ป้องกันมือ (hand protection) : ถุงมือยาง

  • อุปกรณ์ป้องกันเท้า (foot protection) : ผู้เข้าใช้ห้องปฏิบัติการต้องสวมใส่รองเท้าหุ้มข้อเท่านั้น

  • อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย (body protection) : ผู้เข้าใช้ห้องปฏิบัติการต้องสวมเสื้อกาวน์

  • อุปกรณ์ป้องกันการได้ยิน (hearing protection)

  • อุปกรณ์ป้องกันระบบทางเดินหายใจ (respiratory protection) : หน้ากากอนามัย

2. ระเบียบปฏิบัติของแต่ละห้องปฏิบัติการ

1. มีการกำหนดระเบียบ/ข้อปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ

2. ผู้ปฏิบัติงานปฏิบัติตามระเบียบ/ข้อปฏิบัติที่กำหนดไว้ ในหัวข้อต่อไปนี้

  • จัดวางเครื่องมือและอุปกรณ์บนโต๊ะปฏิบัติการเป็นระเบียบและสะอาด

  • สวมเสื้อคลุมปฏิบัติการที่เหมาะสม

  • รวบผมให้เรียบร้อยขณะทำปฏิบัติการ

  • สวมรองเท้าที่ปิดหน้าเท้าและส้นเท้าตลอดเวลาในห้องปฏิบัติกา

  • มีป้ายแจ้งกิจกรรมที่กำลังทำปฏิบัติการที่เครื่องมือ พร้อมชื่อ และหมายเลขโทรศัพท์ของผู้ทำปฏิบัติการ

  • ล้างมือทุกครั้งก่อนออกจากห้องปฏิบัติการ

  • ไม่เก็บอาหารและเครื่องดื่มในห้องปฏิบัติการ

  • ไม่รับประทานอาหารและเครื่องดื่มในห้องปฏิบัติการ

  • ไม่สูบบุหรี่ในห้องปฏิบัติการ

  • ไม่สวมเสื้อคลุมปฏิบัติการและถุงมือไปยังพื้นที่ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการทำปฏิบัติการ

  • ไม่ทำงานตามลำพังในห้องปฏิบัติการ

  • ไม่พาเด็กและสัตว์เลี้ยงเข้ามาในห้องปฏิบัติการ

  • ไม่ใช้เครื่องมือผิดประเภท

  • ไม่ทำกิจกรรมอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการ

  • ไม่วางของรกรุงรังและสิ่งของที่ไม่จำเป็นภายในห้องปฏิบัติการ

3. มีการกำหนดระเบียบ/ข้อปฏิบัติในกรณีที่หน่วยงานอนุญาตให้มีผู้เยี่ยมชม ในข้อต่อไปนี้

  • มีผู้รับผิดชอบนำเข้าไปในห้องปฏิบัติการ เอกสารแนบ

  • มีการอธิบาย แจ้งเตือนหรืออบรมเบื้องต้นก่อนเข้ามาในห้องปฏิบัติการ เอกสารแนบ

  • ผู้เยี่ยมชมสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลที่เหมาะสมก่อนเข้ามาในห้องปฏิบัติการ เอกสารแนบ

หมวดที่ 6 การให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ

1. การให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับด้านความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ เอกสารแนบ

1. มีการให้ความรู้พื้นฐานแก่ผู้บริหารในเรื่องระบบการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย

  • ใช่

2. มีการให้ความรู้พื้นฐานแก่ผู้บริหารในเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

  • ไม่ทราบ/ไม่มีข้อมูล

3. มีการให้ความรู้พื้นฐานแก่หัวหน้าห้องปฏิบัติการในเรื่อง

  • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

  • ระบบการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย

  • ระบบการจัดการสารเคมี

  • ระบบการจัดการของเสีย

  • สารบบข้อมูลสารเคมีและของเสีย

  • การประเมินความเสี่ยง

  • ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการกับความปลอดภัย

  • การป้องกันและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

  • อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล

  • SDS

  • ป้ายสัญลักษณ์ด้านความปลอดภัย ระบุข้อมูลหรือแนบไฟล์ไม่ครบถ้วน

4. มีการให้ความรู้พื้นฐานแก่ผู้ปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอในเรื่อง

  • กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

  • ระบบการบริหารจัดการด้านความปลอดภัย

  • ระบบการจัดการสารเคมี

  • ระบบการจัดการของเสีย

  • สารบบข้อมูลสารเคมีและของเสีย

  • การประเมินความเสี่ยง

  • ลักษณะทางกายภาพของห้องปฏิบัติการกับความปลอดภัย

  • การป้องกันและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

  • อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล

  • SDS

  • ป้ายสัญลักษณ์ ระบุข้อมูลหรือแนบไฟล์ไม่ครบถ้วน

5. มีการให้ความรู้พื้นฐานแก่พนักงานทำความสะอาดในเรื่อง

  • การป้องกันและตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน

  • อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล

  • ป้ายสัญลักษณ์ด้านความปลอดภัย

หมวดที่ 7 การจัดการข้อมูลและเอกสาร

1. การจัดการข้อมูลและเอกสาร

1. มีการจัดการข้อมูลและเอกสารอย่างเป็นระบบ ดังนี้

  • ระบบการจัดกลุ่ม : มีการจัดกลุ่มเอกสาร โดยแยกกลุ่มดังนี้ กลุ่มเอกสารข้อมูลความปลอดภัย กลุ่มเอกสารคู่มือการใช้เครื่องมือ เอกสารด้านสารเคมี กลุ่มเอกสารคู่มือการปฏิบัติงาน

  • ระบบการจัดเก็บ มีการจัดเก็บไฟล์เอกสารไว้ใน folder ในคอมพิวเตอร์และระบบ google drive และปริ้นเป็น hard copy ไว้ในห้องปฏิบัติการ

  • ระบบการนำเข้า-ออก และติดตาม : มีวิธีการนำเข้า-ออกเอกสารที่เป็นระบบ โดยมีการบันทึกลงในเอกสารว่าเป็นเรื่องใดและมีผู้ใดเป็นผู้ดำเนินการ

  • ระบบการทบทวนและปรับปรุงให้ทันสมัย (update) : เอกสารแนบ

1. การทบทวนและปรับปรุงข้อมูล โดยผู้ทบทวนคือ รศ.ดร.พิมพ์ทอง ทองนพคุณ และคุณพรพิทักษ์ สุธรรม

2. มีเอกสารและบันทึก ต่อไปนี้ อยู่ในห้องปฏิบัติการ หรือบริเวณที่ผู้ปฏิบัติการทุกคนสามารถเข้าถึงได้

  • เอกสารนโยบาย แผน และโครงสร้างบริหารด้านความปลอดภัย เอกสารแนบ

  • ระเบียบและข้อกำหนดความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ เอกสารแนบ

  • เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) เอกสารแนบ

  • คู่มือการปฏิบัติงาน (SOP) เอกสารแนบ

  • รายงานอุบัติเหตุในห้องปฏิบัติการ เอกสารแนบ

  • รายงานเชิงวิเคราะห์/ถอดบทเรียน

  • ข้อมูลของเสียอันตราย และการส่งกำจัด เอกสารแนบ(1) เอการแนบ(2)

  • ประวัติการศึกษาและคุณวุฒิ

  • ประวัติการได้รับการอบรมด้านความปลอดภัย เอกสารแนบ

  • ประวัติเกี่ยวกับสุขภาพ

  • เอกสารตรวจประเมินด้านความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ เอกสารแนบ

  • ข้อมูลการบำรุงรักษาองค์ประกอบทางกายภาพ อุปกรณ์ และเครื่องมือ เอกสารแนบ

  • เอกสารความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัย เอกสารแนบ

  • คู่มือการใช้เครื่องมือ (เอกสารแนบ)