การประเมินภายนอก

หลักการสำคัญ 3 ในการประเมินภายนอกรอบสี่ (2560-2563)


การประเมินภายนอก เป็นการตรวจสอบ ยืนยันการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ว่าดำเนินการอย่างเหมาะสม
เป็นระบบ มีความเป็นไปได้และเกิดประสิทธิผลต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษาหรือไม่ เพียงใด

แนวทางการพิจารณาและตัดสินระดับคุณภาพ

ด้านผู้เรียน พิจารณา

Øความเหมาะสม

Øความเชื่อถือได้ด้านคุณภาพของผู้เรียน

Øประสิทธิผลด้านผู้เรียน

ด้านบริหารจัดการ

Øความเป็นระบบ

Øความเชื่อถือได้ด้านการบริหารจัดการ

Øประสิทธิผลด้านการบริหารจัดการ

ด้านการจัดการเรียนการสอน

Øความเป็นระบบ

Øความเชื่อถือได้

Øประสิทธิผลด้านการจัดการเรียนการสอน

ความเหมาะสม / ความเป็นระบบ ## กำหนดตัวชี้วัดเหมาะสม เกณฑ์หรือเป้าหมายคุณภาพเหมาะสม แนวทางการพัฒนา /

โครงการ / กิจกรรมในการพัฒนาเหมาะสมและเป็นไปได้

ความเชื่อถือได้ ## ตรวจจากสภาพจริง

กระบวนการทำงาน / คุณภาพผู้เรียน ## กระบวนการบริหาร กระบวนการสอน – การดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีพัฒนาการดีขึ้น

อย่างต่อเนื่องในระยะ 2 – 3 ปีหลัง

นวัตกรรม / ต้นแบบการพัฒนา ## อาจเป็นกระบวนการบริหาร การสอน รูปแบบการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน รวมถึงผลลัพธ์

ที่เกิดกับผู้เรียนที่เป็นกรณีศึกษาหรือเป็นแบบอย่างได้

บทบาทหน้าที่ของ สมศ. ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาประสิทธิภาพ

ของระบบบริหารจัดการศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ

1.พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาที่บูรณาการเชื่อมโยงกับระบบการประกันคุณภาพภายในและการ

ติดตามประเมินผลของหน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

2.พัฒนาระบบการประเมินประสิทธิภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาทุกระดับ / ประเภทการศึกษา

3.ปรับปรุงระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นระบบที่ไม่ยุ่งยากต่อการปฏิบัติ และไม่เป็นภาระของ

ผู้สอน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาแต่ละระดับและเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ

4.ดำเนินการในภารกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง


การให้ระดับคุณภาพการประเมินคุณภาพภายนอก