ทางรถไฟสายเก่า เส้นทางรถไฟสายประวัติศาสตร์กิ่วคอควาย 

รถไฟสายประวัติศาสตร์ ตำบลศรีเตี้ย อำเภอบ้านโฮ่ง จังหวัดลำพูน 

      ทางรถไฟสายเก่า รถไฟสายประวัติศาสตร์ ณ บ้านโฮ่ง ลำพูน เป็นเส้นทางรถไฟสายเก่า เดิมใช้สำหรับการบรรทุกไม้สัก ปัจจุบันได้เลิกใช้เส้นทางดังกล่าว โดยมีการสร้างถนนสายใหม่
      การเดินทาง : เดินทางจากสามแยกท่าลี่ (เชียงใหม่ -ฮอด) มาเส้นทางท่าลี่-ม่วงโตน ข้ามสะพานบ้านร้องธาร มาถึงสามแยกหอนาฬิกาหนองล่อง เลี้ยวซ้าย เข้าสู่เขตตำบลศรีเตี้ย และเลี้ยวขวาเข้าสู่เส้นทางศรีเตี้ย - หนองเขียด ก่อนถึงเทศบาลตำบลศรีเตี้ยและวัดดอยหลังถ้ำ ทางรถไฟสายเก่าอยู่ทางซ้ายมือ

       ปัจจุปัน มีรางรถไฟแล้ว และมีการปรับปรุงสถานที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว ให้กับผู้ที่มาเที่ยวชม และพักผ่อน

ประวัติทางรถไฟสายเก่า การค้าไม้สักล้านนา ยุคล่าอาณานิคม

การเริ่มต้นค้าไม้สักของเจ้าหลวงด้านนาล้านนา

       มีการค้าไม้สักมานานตั้งแต่พ.ศ. ๒๓๘o สมัยเจ้าหลวงแผ่นดินเย็นหรือพระยาพุทธวงศ์เป็นเจ้าผู้ครองเมืองเชียงใหม่แต่ส่วนใหญ่เป็นการค้าระหว่างเจ้าหลวงหัวเมืองล้านนากับผู้เช่าทำไม้ชาวพม่าหรือมอญที่นำไม้ไปขายต่อให้โรงเอยไม้ของอังกฤษที่เมืองมะละแหม่งเพื่อนำไปใช้ในอุตสาหกรรมต่อเรือ โดยที่ลูกจ้างในการทำบำไม้เป็นชาวไทใหญ่และกะเหรี่ยงสำหรับข้อตกลงระหว่างเจ้าหลวงหรือเจ้าญาติในฐานะเจ้าของบำากับผู้เช่าป่าไม้จะได้รับการบันทึกลงในใบลานเก็บไว้เป็นหลักฐานแต่หลังจากสนธิสัญญาเบาว์ริงในปีพ.ศ. ๒๓๙๘ การค้าโดยตรงระหว่างหัวเมืองล้านนากับพม่าค่อยๆลดลงแต่มีการส่งท่อนซุงลอยในแม่น้ำปิงวังยมน่านคงไปขายที่กรุงเทพฯมากขึ้นเพราะสนธิสัญญาดังกล่าวได้อนุญาตให้อังกฤษตั้งโรงเลื่อยไม้ในกรุงเทพฯเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมต่อเรือได้

       ในสมัยที่เจ้าหลวงกาวิโดรสสุริยวงษ์ครองเมืองเชียงใหม่ระหว่างพ.ศ.๒๓๙๙-๒๔๑๓ นอกเหนือจากค่าเช่าผืนป่าหรือ"ค่าเปิดป่า"ที่ผู้เช่าทำไม้ต้องจ่ายแก่เจ้าของป่าแล้วยังต้องจ่าย'คำตอไม้' หลังจากที่ตัดต้นไม้ออกไปโดยราคาตกตอละสามถึงท้ารูปีเงินค่า "ตอไม้"ที่ได้จะถูกส่งเข้าคลังหลวงพอถึงสิ้นปีจึงนำมาแบ่งเป็นสามส่วนส่วนหนึ่งเป็นของบรรดาเจ้าญาติที่ทำหน้าที่เก็บเงินส่วนหนึ่งเป็นของเจ้าของป่าส่วนที่เหลือเป็นของเจ้าหลวง

การจัดตั้งกรมบำไม้ของสยาม

     ไม่นานก่อนที่เจ้าหลวงอินทวิชยานนท์ถึงแก่พิราดัยในปดายปีพ.ศ.๒๔๔๐ รัฐบาลสยามได้เริ่มปฏิรูปหัวเมืองล้านนาอีกครั้งโดยส่งพระยาทรงสุรเดช (อั้นบุนนาค) เข้าไปเป็นข้าหลวงใหญ่ที่เชียงใหม่ในปีพ.ศ.๒๔๓- เพื่อหาแนวทางจัดระบบราชการหัวเมืองด้านนาเสียใหม่ เมื่อพระยาทรงสุรเดขขึ้นมารับตำแหน่ง จึงเกลี้ยกต่อมเจ้านายที่เหลือด้วยนโยบายที่เรียกว่า 'อุบายเกี้ยวถาว'เพื่อให้เห็นตีเห็นงามกับการมีตำแหน่งผู้ช่วยกรมต่างๆที่เป็นข้าราชการจากกรุงเทพฯเหมือนเดิมซึ่งรวมถึงกรมนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับป้ไม้ด้วยดังนั้นต่อมาเมื่อรัฐบาลสยามมีแนวคิดในการจัดการบำไม้เสียใหม่โดยการแนะนำของมร.เฮอร์เบิร์ดเอสเลด (Herbert A Slade) ผู้เชี่ยวขาญการ บำไม้ขาวอังกฤษ มร.สเลด ใช้เวดาศึกษาปัญหาและดูงานในท้องที่ต่างๆกดางป่เขาอยู่ร่วมห้าเตือนเมื่อกลับถึงกรุงเทพฯจึงได้จัดทำรายงานการสำรวจสถานการณ์ป่สักภาคเหนือเสนอต่อสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพเสนาบดี โดยชี้ให้เห็นข้อบกพร่องสำคัญสองประการประการแรก"บำไม้ทั้งหมดอยู่ในการถือครองของเจ้านายท้องถิ่นแทนที่จะอยู่ในการควบคุมดูแลของรัฐบาลกลาง' ประการที่สอง 'การทำไม้ที่ปฏิบัติอยู่ในขณะนั้นยังไม่ถูกต้องตามหลักการคุ้มครองรักษาบำไม้ให้อำนวยผลอย่างยั่งยืน' พร้อมกับเสนอแนะวิธีแก้ใขไว้หลายประการมีสาระสำคัญคือควรโอนการครอบครองบำไม้จากเจ้าหลวงและเจ้าญาติมาเป็นของรัฐบาลกลางทั้งหมดนอกจากนั้นควรตั้งกรมบำไม้เป็นหน่วยงานเพื่อควบคุมกิจการบำไม้เป็นการเฉพาะซึ่งต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเห็นชอบกับข้อเสนอและอนุมัติให้จัดตั้งกรมบำไม้อยู่ในสังกัดกระทรวงมหาดไทยโดยโปรดเกค้าแต่งตั้งให้มร.สเลดเป็นเจ้ากรมบำไม้คนแรกเมื่อวันที่ ๑ ตุลาคมพ.ศ.๒๔๓๙ โดยมีสำนักงานอยู่ที่เชียงใหม่พร้อมๆกันนั้นสมเด็จกรมพระยาดารงราขานุภาพได้ทรงมอบหมายให้พระยาศรีสหเทพไปเจรจาชอโอน

อำนาจการครอบครองบำไม้จากเจ้าหลวงและเจ้าญาติในหัวเมืองด้านนาให้มาขึ้นกับรัฐบาลกลางหลังจากมร.สเลดกลับไปพม่แล้วรัฐบาสยามก็ได้ยืมตัวชาวอังกฤษมาเป็นเจ้ากรมป่ไม้อีกสองคนและในปีพ.ศ.๒๔๕๑ ภายใด้เจ้ากรมบำไม้ขาวอังกฤษคนที่ตามที่ชื่อมร.ดับเบิดยูเอฟลอยด์ (W F. Lloyd)รัฐบาดสยามได้เปลี่ยนแปดงหลักเกณฑ์ในการอนุญาตทำไม้สักอีกครั้งคือเปลี่ยนจากอายุสัญญา ๖ ปีเป็น ๑๕ ปี

      ทั้งนี้เพื่อสะดวกในการบริหารจัดการและประหยัดงบประมาณตลอดจนสอดคล้องกับความเป็นจริงในการทำบำไม้ที่ต้องใช้เวลาตำหรับกานไม้อย่างน้อยสองปีก่อนเริ่มตัดฟันการแก้ใซอายุสัญญาครั้งนี้ยังทำให้ได้ไม้ที่มีคุณภาพดีขึ้นเพราะได้ขยายรอบตัดฟันออกไปด้วยจาก ๑๒ ปีเป็น ๓๐ ปี

พัฒนาการการทำป่ไม้หลังจัดตั้งกรมป่าไม้

      การทำไม้ในป่เมืองเหนือ ช่วงหน้าร้อนในราวเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคมในช่วงนี้นายห้างบำไม้ฝรั่งมักจะไม่เข้าไปทำงานในบำแต่ทำงานในอฟฟิศที่สถานีบำไม้ในเมืองเช่นเชียงใหม่ลำปางแพร่งานที่ทำเป็นงานสบายๆเพราะเป็นช่วงที่ถือโอกาสพักผ่อนไปด้วยในตัวเช่นการเซ็กสด็อกวัสดุอุปกรณ์ต่างๆการทำบัญชีและการวางแผนเตรียมการดำหรับเข้าบำทำไม้ในช่วงฤดูฝนที่กำลังจะมาถึงโดยเวลาที่เหลือในช่วงบ่ายๆค่ำๆก็ไปพักผ่อนในสโมสรที่เป็นส่วนตัวเฉพาะของฝรั่งที่สร้างไว้เกือบทุกแห่งที่มีออฟฟิศของบริษัททำไม่

      เมื่อย่างเข้าสู่ฤดูฝนตั้งแต่เดือนมิถุนายนฝรั่งนายห้างบำไม้จะเข้าป่าเพื่อทำงานกันอย่างจริงจังโดยเฉพาะการดูแลลากชุงจากเขาสูงหรือหุบเหวและการเตรียมล่องชุงในช่วงฤดูน้ำหลากที่กำลังใกล้เข้ามาในช่วงนี้มีการตั้งแคมป์คนงานและเตรียมเสบียงกรังอย่างพรั่งพร้อมช้างนับร้อยๆเชือกของบริษัทถูกจัดวางให้ทำงานในตำแหน่งยุทธศาสตร์ต่างๆในบำนายห้างบำไม้และหัวหน้าคนเลี้ยงข้างหรือเรียกว่า 'แก่ช้าง' ต้องสามารถเลือกช้างให้เหมาะกับงานที่ทำแต่ละประเภทเชือกใดใช้ชนสัมภาระเชือกใดลากชุงเชือกใดเอาไว้คอยงัดชุงในแม่น้ำฯลฯเพราะข้างแต่ละเชือกมีคุณลักษณะทั้งร่างกายและจิตใจแตกต่างกัน

      เมื่อข้างนำท่อนชุงมาไว้ในบริเวณที่ราบแล้วนายห้างบำไม้ต้องดูแลตีตราทาเครื่องหมายไม้ซุงแต่ละท่อนปกติมีค้อนที่ใช้ทำสัญลักษณ์สี่ชนิดคือชื่อบริษัทปีที่ตีตราเลขประจำตัวนายห้าง บำไม้และคุณภาพท่อนไม้ว่าอยู่ในชั้นที่ 2 หรือ 2 หรือ ๓ หรือเป็นไม้คัดทิ้งเมื่อทุกอย่างดำเนินการเตร็จสิ้นก็ใช้ช้างหรือควายหลายคู่ลากท่อนชุงไปยังแม่น้ำลำห้วยเพื่อรอการช่วยเหลือสั่งการของธรรมชาติให้ฝนเทกระหน่ำจนน้ำบำไหลบ่าลงมาตามแม่น้ำลำห้วยพาชุงแต่ละท่อนล่องลอยไปตามกระแสน้ำ

       นอกจากงานกำกับการลอยท่อนชุงที่บริเวณดันน้ำของแม่น้ำสายต่างๆแล้วในช่วงฤดูกาลนี้นายห้างป่ไม้บางคนอาจแยกไปประจำยังสถานีทำแพตามแม่น้ำสายหลักต่างๆเพื่อดูแลการจัดทำแพไม้ซุงสถานีทำแพเหล่านี้ทุกบริษัททำไม้จะสร้างขึ้นณบริเวณริมแม่น้ำโดยตำแหน่งที่สร้างอยู่ตอนใต้ของแก่งหรือน้ำตกในแม่น้ำสายนั้นสถานีทำแพในแม่น้ำยมอยู่ที่สวรรคโลกหรือสุโขทัยสำหรับแม่น้ำวังและแม่น้ำปิงสถานีทำแพอยู่ที่ระแหงหรือกำแพงเพชรแต่ต่อมาทุกแพจะมารวมเป็นแพใหญ่ล่องเข้ากรุงเทพฯที่ปากน้ำโพธิ์ในช่วงฤคูหนาวระหว่างเดือนพฤศจิกายนจนถึงเดือนกุมภาพันธ์จะเป็นช่วงของการเซ็กสต็อกสินค้าในโกคังมหึมาของนายห้างบำไม้ (ซึ่งในที่นี้สินค้าคือ 'ท่อนชุง' และโกตังคือ 'ฝืนบำบริเวณริมน้ำ' ยาวหลายร้อยกิโลเมตรเริ่มจากต้นน้ำที่ท่อนซุงถูกปล่อยให้ลอยลงมาจนถึงสถานีทำแฟ) สาเหตุที่ต้องติดตามท่อนซุงไปตามแม่น้ำก็ด้วยเหตุผลที่ว่าการให้ท่อนซุงลอยตามกระแสน้ำในแม่น้ำโดยลำพังและคาดหวังว่าซุงทุกท่อนจะลอยไปจนถึงสถานีทำแพไม้ซุงที่อยู่ห่างออกไปหลายร้อยกิโลเมตรนั้นเป็นเรื่องที่เหลือวิสัยที่จะเป็นไปได้ย่อมต้องมีท่อนชุงจำนวนมากที่ไปไม่ถึงโดยอาจติดค้างตามแก่งตามเนินทรายหรือตามแอ่งน้ำชังริมแม่น้ำที่มีพงหญ้ารกชักปกคลุมสูงท่วมหัว

      ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของนวยห้างบำไม้ที่ต้องติดตามไปตามดำน้ำเพื่อคันหากำหนดตำแหน่งระบุรายละเอียดไม้ซุงและทำบัญชีเช็กยอดเทียบกับจำนวนท่อนไม้ซุงที่ถูกปล่อยลงมาจากตันน้ำในช่วงน้ำหลากที่ผ่านมากระบวนการนี้ฝรั่งเรียกว่า นีปจ้ง (Neaping)' นอกจากทำบัญชีเช็กยอดนายห้างบำไม้ยังต้องจัดการดูแลเรื่องอื่นๆจิปาถะเช่นให้คนงานเข้าไปตัดฟันหญ้าที่ปกคดุมท่อนซุงบางท่อนซึ่งติดอยู่บนเนินทรายริมน้ำเพื่อป้องกันไฟไหม้จากสะเก็ดไฟของกองไฟขาวบ้านที่ก่อขึ้นหุงหาอาหารระหว่างเดินทางผ่านไปมาตามดำน้ำรวมถึงอาจต้องส่งข้างเข้าไปงัดหรือดันซุงไม้สักที่ติดอยู่ตามแก่งในแม่น้ำเพื่อให้ท่อนชุงเหล่านี้ตามารถลอยออกไปได้อย่างน้อยก็ในฤดูน้ำหลากปีถัดไป

      ต่อมาตั้งแต่สมัยเจ้าแก้วนวรัฐการทำไม้ในบำาล้านนาได้นำเทคโนโลยีใหม่ๆมาใช้มากขึ้นเริ่มจากบริษัทสยามฟอเรสต์ได้นารถไฟเล็กมาใช้ที่บำแม่จุนเพื่อชนไม้ซุงมาล่องในแม่น้ำยมที่อำเภอปงตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๕๗ทั้งนี้เพราะแม่น้ำจุนใช้ล่องชุงไม่ได้เพราะไหลลงน้ำแม่น้ำอิงก่อนลงสู่แม่น้ำโขงต่อมาภายหลังบริษัทบริติชบอร์เนียวได้นำรถไฟมาใช้ที่ป่ตุ่มน้ำแม่ฝางเพื่อชนซุงไปลงแม่น้ำปิงเพราะน้ำแม่ฝางไหลลงน้ำแม่กกก่อนออกสู่แม่โรงเช่นกันจากนั้นบริษัทอิสต์เอเชียติดได้น้ำรถไฟมาใช้ซนซุงจากป่แดง-ช่อแฮมาลงแม่น้ำยมดท้ายบริษัทบอมเบย์เบอร์ม่ได้นำรถไฟเกมาใช้ที่ป่าลุ่มน้ำเสริมและลุ่มน้ำลี้เพื่อขนท่อนซุแม่น้ำวังและแม่น้ำปิงตามลาดับทั้งนี้เพราะแม่น้ำเสริมและแม่น้ำตื้นเชินเนื่องจากคลิ่งถูกแซะโดยท่อนชุงมาเป็นเวลาหลายปีทำให้ร่องน้ำขยายกว้างขึ้นมาก ๑๒ นอกจากรถไฟแล้วยังมีการนำรถบรรทุกมาใช้ขนท่อนซุงโดยเฉพาะในพื้นที่ราบมากขึ้น

      ในช่วงสงครามโดกครั้งที่สองเนื่องจากไทยเป็นพันธมิตรกับญี่ปุ่นประเทศอังกฤษจึงกลายเป็นศัตรูทางการไทยได้ยึดคืนสัมปทานบำไม้วมถึงทรัพย์สินอื่นๆของบริษัททำไม้อังกฤษมาเป็นของรัฐบาลไทยโดยรวมกิจการของบริษัทเหล่านั้นมาดำเนินการเองภายใด้ชื่อ "บริษัทไม้ไทย' แต่เมื่อสิ้นสุดสงครามในปลายปีพ.ศ.๒๔๔๘ รัฐบาลไทยต้องคืนทรัพย์สินและสัมปทานที่ยึดไประหว่างสงครามให้แก่บริษัทอังกฤษทั้งหมดพร้อมชดใช้ค่าเสียหายระหว่างสงครามให้ด้วย (รวมถึงค่ใช้จ่ายส่วนตัวของนายห้างฝรั่งที่เกิดขึ้นระหว่างสงคราม) บริษัทบำไม้อังกฤษจึงกลับเข้ามาทำธุรกิจเช่นเดิมแต่อีกประมาณสิบปีหลังจากนั้น

      สัมปทานบำไม้ที่ให้กับบริษัทต่างชาติสิ้นสุดดงและรัฐบาลไทยไม่ต่อสัญญาจึงเป็นอันว่าบทบาทของบริษัทต่างชาติต่อการทำธุรกิจบำไม้ในด้านนาได้ยุติลงประมาณช่วงปีพ.ศ. ๒๔๙๗-๒๔๙๙

บทสรุป

การค้าไม้สักยุคด่าอาณานิคมก่อให้เกิดการลำเลียงท่อนชุงจากบำาด้านนาไปยังกรุงเทพฯนับแสนท่อนต่อปีเป็นระยะเวลาต่อเนื่องหลายสิบปีทำให้ไม้สักกลายเป็นสินค้าส่งออกที่นำเงินเข้าประเทศเป็นอันดับต้นๆเทียบเคียงกับข้าวและดีบุกแต่แน่นอนว่ามีได้ย่อมต้องมีเสียผดเสียจากการค้าไม้สักในสมัยนั้นมีไม่น้อยโดยเฉพาะผกระทบในดั่นสภาวะแวคล้อมของบำเขาในพื้นที่ที่เคยอุดมสมบูรณ์ด้วยแมกไม้นานาพันธุ์ด้วยสัตว์ป่าหายากหลากหลายชนิดและยังรวมถึงผลกระทบที่มีต่อวิถีชีวิตและการทำมาหากินของคนในพื้นถิ่นที่อาศัยผืนบำมาข้นานทำให้พวกเขาต้องสูญเสียความอุดมสมบูรณ์เหล่านั้นไปสิ่งเหล่านี้คงยากที่จะคำนวณออกมาเบ็นตัวเลขเพื่อเปรียบเทียบว่า 'ได้มากกว่าเสียหรือเสียมากกว่าได้'

ข้อมูลเนื้อหา โดยกิตติชัย วัฒนานิกร 

 เรียบเรียงเนื้อหา โดย นางสาวชไมพร  ทาวิราช

ภาพถ่าย/ภาพประกอบ โดย นางสาวชไมพร  ทาวิราช