วิวัฒนาการเตา

เตาก้อนเส้า

ที่มาของภาพ https://thaistove.wordpress.com/contact/ภาพ เมื่อ 25 เม.ย. 61




     ความคิดในการทำเตาไฟที่เก่าแก่ที่สุดเริ่มจากการนำก้อนหินที่มีขนาดใกล้เคียงกัน 3 หรือ 4 ก้อนมาวางเรียงกันเป็นวงแล้วก่อไฟตรงกลางก้อนหินจะช่วยให้วางหม้อหรือภาชนะสำหรับหุงต้มได้สะดวก ทำได้ง่ายและแม้เตาก้อนเส้าจะทำง่าย แต่ก็มีข้อ จำกัด ในการใช้สอยหลายอย่างเช่นไม่มีที่บังลมหากก่อไฟในที่แจ้งหรือมีลมพัดแรงก็จะไม่สามารถก่อไฟได้นอกจากนี้เตาก้อนเส้าต้องก่อไฟบน พื้นดินเพราะไม่มีสิ่งรองรับกองไฟไม่สามารถนำไปใช้ในอาคารได้ต่อมาจึงมีผู้ทำแม่สีไฟหรือแม่เตาไฟเพื่อเป็นพื้นรองรับเตาไฟ

 

ที่มาของภาพ https://thaistove.wordpress.com/contact/ภาพ เมื่อ 25 เม.ย. 61

เตาวง

จากเตาก้อนเส้าคนไทยได้พัฒนาเตาไฟมาอีกระดับหนึ่งคือเตาวงซึ่งปั้นด้วยดินเหนียวผสมทรายและดินเชื้ออย่างการทำเครื่องปั้นดินเผาทั่วไปแล้วเผาไฟจนสุกเป็นสีอิฐเตาวงทำง่าย ๆ โดยรีดดินเป็นแผ่นแล้วโค้ง เป็นวงเว้นด้านหนึ่งไว้สำหรับสอดฟืนด้านบนเจาะรูให้อากาศถ่ายเทและทำเป็นปุ่ม 3 ปุ่มสำหรับรับก้นหม้อเรียกจมูกเตาเตาวงจะต้องวางกับพื้นหรือมีแม่เตาไฟรองรับเช่นเดียวกับเตาก้อนเส้า

เชื้อเพลิง  ไม้ฟืนทั่วไปการ

เปลี่ยนแปลงจุด จากเนชั่เตาก้อนเส้าและเตาวงทั้ง 2 ยังไม่สามารถเคลื่อนย้ายเตาได้คน

เตาเชิงกราน

เตาเชิงกรานอาจเป็นเตาโบราณที่มีใช้มาตั้งแต่สมัยอยุธยาหรือก่อนหน้านั้นเตาไฟชนิดนี้คือเตาเชิงกรานเตาชนิดนี้ปั้นด้วยดินเหนียวผสมทรายแล้วเผาไฟอย่างเครื่องดินเผาทั่วไปเตาเชิงกรานรูปร่างคล้ายกระดูกเชิงกรานหรือถาดรูปไข่ ซ้อนกัน 2 ใบส่วนที่เป็นฐานจะมีขนาดใหญ่และยื่นออกไปข้างหน้าเพื่อรองรับท่อนฟืนส่วนที่รับก้นหม้อหรือภาชนะจะมีขนาดเล็กกว่า แต่สูงกว่าเล็กน้อยด้านในทำเป็นจมูกเตายื่นออกมารับก้นหม้อ 3 ปุ่มด้านหน้าเว้นเป็นช่องไว้สอดฟืนบางทีเจาะรูข้าง ๆ เพื่อเป็นช่องให้อากาศถ่ายเทช่วยให้ไฟลุกไหม้ได้ดี

เชื้อเพลิง  ไม้ฟืนทั่วไปการ

จุดเปลี่ยนแปลง  แม้เตาเชิงกรานจะใช้ประโยชน์ได้ดีกว่าเตาก้อนเส้าและเตาวงก็ตาม แต่ก็ยังไม่สนองหัวเรื่อง: การใช้สอยได้ดีที่สุดจึงมีคุณผู้คิดประดิษฐ์เตาไฟแบบใหม่ขึ้นมีหัวเรื่อง: การเปลี่ยนเชื้อเพลิงมาเป็นถ่านที่เผาจากเนชั่ไม้และคงยัง ใช้ไม้ฟืนอยู่เตาชนิดนี้ใช้ได้ ฝ


ที่มาของภาพ https://thaistove.wordpress.com/contact/ภาพ เมื่อ 25 เม.ย. 61

ที่มาของภาพ https://thaistove.wordpress.com/contact/ภาพ เมื่อ 25 เม.ย. 61


เตาอั้งโล่

กล่าวกันว่าเตาอั้งโล่ได้รับแบบอย่างมาจากประเทศจีนพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 อธิบายว่าอั้งโล่น เตาไฟดินเผาชนิดหนึ่งของจีนยกไปได้เตาอั้งโล่เป็นเตาดินเผารูปร่างคล้ายถังปากกลมผายออกเล็กน้อยก้นสอบผนังเตาหนาประมาณ 2 นิ้วด้านหน้าเจาะเป็นช่องสี่เหลี่ยมเสมอพื้นเตาเป็นช่องให้อากาศเข้าหรือใช้พัดโบกให้ลม เข้าไปเร่งให้ไฟลุกแรงขึ้นช่องปากเตานี้มีฝาสำหรับปิดกันไม่ให้ขี้เถ้าปลิวออกมานอกเตาปากเตาทำเป็นจมูกเตาสำหรับก้นหม้อ 3 ปุ่มสูงขึ้นจากปากเตาเล็กน้อยเพื่อยกก้นภาชนะให้พ้นปากเตาเป็นการระบาย อากาศช่วยให้ไฟลุกได้ดีช่องระบายอากาศนี้มีฝาปิดทำด้วยดินเผาเช่นเดียวกันภายในเตาระหว่างปากเตากับก้นเตามีรังผึ้งหรือตะกรับทำด้วยดินเผาเป็นแผ่นกลมเจาะรูเรียงกันเป็นวงอย่างรังผึ้งเพื่อให้ขี้เถ้า ร่วงลงไปก้นเตาและเป็นช่องให้อากาศถ่ายเทด้วย

ประเด็นที่สำคัญ  

คือทางกลุ่ม A6 ได้พบการใช้เตาอั้งโล่ในพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก แต่เป็นเตาอั้งโล่ที่โบกปูนยึดไว้ 3 เตาเรียงกันสันนิฐานว่าคนในยุคนั้นมีเตาเดียวอาจจะทำอาหารไม่เพียงพอเลยเกิดภูมิปัญญาดังภาพออก มาและนั้นหมายความว่าเตาอั้งโล่นี้ได้ถูกใช้มาตั้งแต่ก่อนส่งครามโลกครั้งที่ 2 จนมาถึงปัจจุบันนี้ก็ยังพบเห็นอยู่ในชนกลุ่มชาวบ้านในท้องถิ่น

ภาพถ่ายจากพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก ถ่ายเมื่อ 11 กันยายน 2559

เชื้อเพลิง  ไม้ฟืนถ่านทั่วไปการจากเนชั่หัวเรื่อง: การเผาไม้

เปลี่ยนแปลงจุด เตาอั้งโล่มีขนาดเพิ่มข้อมูลที่ไม่เพียงเมื่อเวลามีงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายเลี้ยงต่างๆของคุณคนไทย English จึงค้ดค้นเตาที่มีขนาดใหญ่ด้านทำอาหารได้ในห้างหุ้นส่วนจำกัดปริมาณที่เยอะ ๆ ขึ้นในห้างหุ้นส่วนจำกัดครั้งเดียว ได้แก่ เตาขุด

 

เตาขุด

นอกจากเตาอั้งโล่ยังมีเตาไฟขนาดใหญ่สำหรับใช้หุงต้มในงานประเพณีหรืองานเทศกาลเพื่อเลี้ยงคนจำนวนมากโดยเฉพาะการหุงข้าวด้วยกระทะใบบัวนั้นคนไทยในอดีตมักทำเตาขุดขึ้นใช้โดยขุดดินให้เป็นเตาไฟเตาขุดนี้ ในบริเวณภาคกลางมักขุดบริเวณริมตลิ่งเพื่อใช้ความลาดชันของตลิ่งให้เกิดประโยชน์คือให้ปากเตาอยู่ด้านตลิ่งเพื่อใส่ฟืนได้สะดวกและรับลมจากตลิ่งเพื่อช่วยให้ไฟลุกได้ดีตัวเตาขุดเป็นหลุมกลม ๆ ปากหลุมมีขนาดกว้างพอดีกับขนาดของกระทะใบบัวด้านตรงข้ามกับปากเตาขุดเป็นรูระบายอากาศและควันซึ่งช่วยให้ไฟลุกได้ดี














ที่มาของภาพ https://thaistove.wordpress.com/contact/ภาพ เมื่อ 25 เม.ย. 61


ที่มาของภาพ https://thaistove.wordpress.com/contact/ภาพ เมื่อ 25 เม.ย. 61


การพัฒนาภูมิปัญญาเตาขุด

แม้เตาขุดจะใช้ประโยชน์ได้ดี แต่เป็นเตาชั่วคราวและไม่สะดวกต้องเสียเวลาขุดต่อมาชาวบ้านจึงก่อเตาด้วยอิฐหรือซีเมนต์อย่างถาวรไว้ในบริเวณวัด


ประเด็นที่สำคัญ 

คือทางกลุ่ม A6 ได้พบเห็นเตาขุดที่ก่อเตาด้วยอิฐหรือซีเมนต์อย่างถาวรสันนิฐานได้ว่าในอดีตพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอกอาจมีคนอาศัยอยู่เยอะดูจากเตาอั้งโล่ที่มี 3 เตาโบกปูนติดกันและมีเตาขุดก่อ เตาด้วยอิฐหรือซีเมนต์อย่างถาวรซึ่งเตานี้จะใช้สำหรับทำอาหารที่ล่ะเยอะ ๆ ดังนั้นเตาขุดนี้ได้ถูกใช้มาตั้งแต่ก่อนส่งครามโลกครั้งที่ 2 จนมาถึงปัจจุบัน แต่ไม่ค่อยได้รับความนิยมเพราะมีลักษณะใหญ่


เชื้อเพลิง  ไม้ฟืนทั่วไปการ

เปลี่ยนแปลงจุด  อย่างไรก็ตามของคุณคนไทย English พยายามประดิษฐ์เตาไฟให้ใช้ได้สะดวกและเกิดประโยชน์สูงสุดมาเรื่อยมารูปแบบของเตาไฟจึงเปลี่ยนไปตามวัตถุดิบที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงเมื่อของคุณคนไทย English เปลี่ยนจากเนชั่หัวเรื่อง: การใช้ฟืนและถ่านมาเป็นการใช้น้ำมันและก๊าซ ได้แก่ เตาน้ำมัน