นางสาวบุศริน  เหมทานนท์

ตำแหน่ง ครู

ประวัติส่วนตัวผู้รับการประเมิน

ส่วนที่ 1

ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง

1.  ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด


ภาระงาน ภาคเรียนที่ 2/2564


1. ชั่วโมงสอนตามตารางสอน จำนวน 19 ชั่วโมง 10 นาที/สัปดาห์ ดังนี้

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


2. งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 12 คาบ/สัปดาห์


3. งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 22 ชั่วโมง/สัปดาห์      


4. งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์


ภาระงาน ภาคเรียนที่ 1/2565


1. ชั่วโมงสอนตามตารางสอน จำนวน 19 ชั่วโมง 10 นาที/สัปดาห์ ดังนี้

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


2. งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 12 คาบ/สัปดาห์


3. งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 22 ชั่วโมง/สัปดาห์      


4. งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์


2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู


ส่วนที่ 2

ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายใน

การพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน

ประเด็นท้าทาย  : การจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาการคำนวณ  ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบ Unplugger Coding เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาและการเขียนโปรแกรมคำสั่ง Repeat (เรื่อง วางแผนท่องเที่ยวเมืองเกาะคาแลนด์)

1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน

  จากการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ  เรื่อง วางแผนท่องเที่ยวเมืองเกาะคาแลนด์) พบว่า นักเรียนไม่มีทักษะการแก้ปัญหา และการเขียนโปรแกรมคำสั่ง เนื่องจากคอมพิวเตอร์ที่ทำงานล้าสมัย หรือคอมพิวเตอร์ที่เสียจนไม่สามารถใช้งานได้ จึงส่งผลให้จำนวนคอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอกับจำนวนนักเรียน  ทำให้การจัดการเรียนการรายวิชาวิทยาการคำนวณ ในหน่วยการเรียนรู้ที่จะต้องใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเปิดโปรแกรมประกอบเรียนรู้ไม่สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้

   กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Unplug มีการพูดถึงกันมากในปัจจุบันนับตั้งแต่มีหลักสูตรวิทยาการคำนวณที่จัดให้ผู้เรียน เรียนรู้ทุกระดับชั้น กิจกรรมการเรียนรู้แบบ Unplug เป็นแนวคิดการจัดการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์เพื่อสร้างความเข้าใจหลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์และตรรกศาสตร์ ผ่านกิจกรรมการเล่น โดยไม่ใช้คอมพิวเตอร์ เช่นกระดานเกม การลำดับขั้นตอน การเรียนโค้ดดิ้งผ่านกระดาษ เพื่อเป็นสื่อในการเรียนรู้หลักการของคอมพิวเตอร์ โดยกระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้อย่างสนุกสนาน และสามารถฝึกทักษะการแก้ปัญหา การใช้ความสร้างสรรค์ การคิดอย่างเป็นระบบ และทักษะการสื่อสาร ซึ่งเป็นพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ เช่น การเขียนคำสั่ง การเขียนโปรแกรม การลำดับการทำงานดังนั้นเพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการเขียนโปรแกรมคำสั่ง ผู้ประเมินจึงสนใจที่จะประยุกต์ใช้การจัดการเรียนการสอน “Active Learning” ในรูปแบบ Unplugged Coding  ในรายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  เรื่อง วางแผนท่องเที่ยวเมืองเกาะคาแลนด์ 


2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล

2.1 การวางแผน (Plan)

1) ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล แนวคิด และทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอน “Active Learning” ในรูปแบบ Unplugged Coding  ที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการเขียนโปรแกรมคำสั่ง รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  เรื่อง วางแผนท่องเที่ยวเมืองเกาะคาแลนด์ ของผู้เรียน

2) ออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนการจัดการเรียนการสอน “Active Learning” ในรูปแบบ Unplugged Coding  ที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการเขียนโปรแกรมคำสั่ง รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  เรื่อง วางแผนท่องเที่ยวเมืองเกาะคาแลนด์

3) แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพกิจกรรมการจัดการเรียนการจัดการเรียนการสอน “Active Learning” ในรูปแบบ Unplugged Coding  ที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการเขียนโปรแกรมคำสั่ง รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  เรื่อง วางแผนท่องเที่ยวเมืองเกาะคาแลนด์

4) ปรับปรุง/พัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนการจัดการเรียนการสอน “Active Learning” ในรูปแบบ Unplugged Coding ที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการเขียนโปรแกรมคำสั่ง รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  เรื่อง วางแผนท่องเที่ยวเมืองเกาะคาแลนด์

2.2 การปฏิบัติ (Do)

นำกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน “Active Learning” ในรูปแบบ Unplugged Coding  ที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการเขียนโปรแกรมคำสั่ง รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  เรื่อง วางแผนท่องเที่ยวเมืองเกาะคาแลนด์ ที่ผ่านการปรับปรุงแล้วไปจัดการเรียนรู้กับกลุ่มเป้าหมาย

2.3 การตรวจสอบ (Check)

ศึกษาประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอน “Active Learning” ในรูปแบบ Unplugged Coding  ที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการเขียนโปรแกรมคำสั่ง รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  เรื่อง วางแผนท่องเที่ยวเมืองเกาะคาแลนด์

2.4 การปรับปรุงแก้ไข (Act)

1) ปรับปรุงแก้ไขกระบวนการจัดการเรียนการสอน “Active Learning” ในรูปแบบ Unplugged Coding  ที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการเขียนโปรแกรมคำสั่ง รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  เรื่อง วางแผนท่องเที่ยวเมืองเกาะคาแลนด์

1.1) นำประเด็นดังกล่าวเข้าสู่วง PLC เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางการพัฒนาตามประเด็น

1.2) ศึกษาตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาแล้วจัดทำเป็นสารสนเทศเพื่อใช้แก้ปัญหาในรอบปีถัดไป  

 

3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

    3.1 เชิงปริมาณ

       นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ร้อยละ 60 เมื่อได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการจัดการเรียนการสอน “Active Learning” ในรูปแบบ Unplugged Coding  ที่ส่งผลต่อการพัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการเขียนโปรแกรมคำสั่ง รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  เรื่อง วางแผนท่องเที่ยวเมืองเกาะคาแลนด์

3.2 เชิงคุณภาพ

- มีกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการแก้ปัญหา และการเขียนโปรแกรมคำสั่ง รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  เรื่อง วางแผนท่องเที่ยวเมืองเกาะคาแลนด์ ของผู้เรียน

- ผู้เรียนมีทักษะการแก้ปัญหา และการเขียนโปรแกรมคำสั่งสูงขึ้น รายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1  เรื่อง วางแผนท่องเที่ยวเมืองเกาะคาแลนด์สูงขึ้น         


การจัดการเรียนในห้องเรียนด้วยโปรแกรม Scratch

ปัญหา คอมพิวเตอร์ที่ทำงานล้าสมัย หรือคอมพิวเตอร์ที่เสียจนไม่สามารถใช้งานได้ จึงส่งผลให้จำนวนคอมพิวเตอร์ไม่เพียงพอกับจำนวนนักเรียน  ทำให้การจัดการเรียนการรายวิชาวิทยาการคำนวณ ในหน่วยการเรียนรู้ที่จะต้องใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเปิดโปรแกรมประกอบเรียนรู้ไม่สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้

การจัดการเรียนในห้องเรียนด้วย Game base Game board KOKHA LAND

แก้ปัญหาโดย  ประยุกต์ใช้การจัดการเรียนการสอน “Active Learning” ในรูปแบบ Unplugged Coding  ในรายวิชาวิทยาการคำนวณ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1            เรื่อง วางแผนท่องเที่ยวเมืองเกาะคาแลนด์ 

เอกสารหลักฐาน และ คลิปการจัดการเรียนรู้

ประกวดสื่อ.mp4

วิดีโอการจัดการเรียนรู้ รายวิชาวิทยาการคำนวณ1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  

เรื่อง เริ่มต้นกับโปรแกรม Scratch แผนจัดการเรียนรู้ที่ 8 วางแผนท่องเที่ยวเมืองเกาะคาแลนด์

รายงานการผลิตและการใช้สื่อการสอน 

วิจัยการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบ Unplug Coding เพื่อพัฒนาทักษะการการเขียนโปรแกรมคำสั่ง repeat ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่

เอกสารประกอบการจัดการเรียนการสอน