หน้าแรก

1. ข้อมูลส่วนบุคคล

    ชื่อ                                  ศาสตราจารย์เกียรติคุณ สุรพล   ดำริห์กุล

    สถานที่ทำงาน          ภาควิชาศิลปะไทย   คณะวิจิตรศิลป์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

                                            อำเภอเมือง  จังหวัดเชียงใหม่  50202

    บ้านที่อยู่                     289/46  หมู่ 3  หมู่บ้านธนารักษ์  ตำบลดอนแก้ว

                                            อำเภอแม่ริม  จังหวัดเชียงใหม่  50180

    นักวิจัยแห่งชาติ       รหัสประจำตัว   38 – 60 - 0542

                        นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ  สาขาปรัชญา  ของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 

    สาขาที่เชี่ยวชาญ    วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์และโบราณคดี   

    หมายเลขโทรศัพท์     089 – 8547953                                    

    E – mail : Suraphondk@gmail.com


2. ประวัติการศึกษา

    ปริญญาตรี                 ศิลปศาสตรบัณฑิต (โบราณคดี) 

                                            สาขามานุษยวิทยาวัฒนธรรม  มหาวิทยาลัยศิลปากร พ.ศ. 2515

    ปริญญาโท                 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต

                                             สาขาสังคมวิทยา   มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์  พ.ศ. 2527

    ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    ประกาศนียบัตรชั้นสูง                     บัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2518

    ประกาศนียบัตร           (1) Certificate  in  Prehistoric  Archaeology  of  SPAFA  and  National  Museum  of  Philippines, 1979.

                                              (2) ประกาศนียบัตรหลักสูตรเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ฝ่ายอำนวยการรุ่น 29 

                                               โรงเรียนการประชาสัมพันธ์   กรมประชาสัมพันธ์  พ.ศ. 2530.


3. ประวัติการทำงาน

    3.1  รับราชการในกรมศิลปากร   กระทรวงศึกษาธิการ ในระหว่าง พ.ศ. 2517 - 2536  ทำหน้าที่ในตำแหน่งต่างๆ 

           เช่น  ภัณฑารักษ์   นักโบราณคดี  หัวหน้าหน่วยศิลปากรที่ 4 เชียงใหม่  หัวหน้าอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา 

           ประชาสัมพันธ์กรมศิลปากร  บรรณาธิการสารกรมศิลปากรและบรรณาธิการนิตยสารศิลปากร

    3.2. โอนมารับราชการในตำแหน่งอาจารย์  ประจำภาคศิลปะไทย  คณะวิจิตรศิลป์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  ตั้งแต่ พ.ศ. 2536

           เป็นต้นมา

           4 ก.ค. 51   เปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัย 

    3.3. ตำแหน่งบริหาร

            (1)  พ.ศ. 2542 – 2543    ทำหน้าที่หัวหน้าภาควิชาศิลปะไทย  คณะวิจิตรศิลป์

            (2)  พ.ศ. 2549 – ปัจจุบัน  ที่ปรึกษาอาวุโส  สำนักบริการวิชาการ(UNISEV)  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

            (3)  พ.ศ. 2552 – 2553    ประธานบริหารหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาร่วม สาขาวิชาการการจัดศิลปะ 

       และวัฒนธรรม  บัณฑิตวิทยาลัย

  (4)  พ.ศ. 2552 – 2553    บรรณาธิการวารสารวิจิตรศิลป์  

  (5)  พ.ศ. 2553 เกษียณอายุราชการ

  (6)  พ.ศ. 2554 – 2557 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ  สภาวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

  (7)  พ.ศ. 2560 – ปัจจุบัน กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ  สภาวิชาการมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

    

    3.4.  เครื่องราชอิสริยาภรณ์ 

         มหาวชิรมงกุฎ  (ม.ว.ม.) และจตุตถดิเรกคุณาภรณ์ 


4. สาขาวิชาการที่มีความชำนาญ

    - วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์และโบราณคดี


5. ผลงานวิจัยและหนังสือตีพิมพ์

    5.1  งานวิจัย

        (1)  งานวิจัยเรื่อง  การสำรวจและขุดค้นทางโบราณคดีตามโครงการผามอง  เล่ม 1   เอกสารพิมพ์ดีดเย็บเล่ม  

              กองโบราณคดี  กรมศิลปากร  และสำนักงานพลังงานแห่งชาติ  พ.ศ. 2520 (หัวหน้าโครงการ).

        (2)  งานวิจัยเรื่อง  การสำรวจและขุดค้นทางโบราณคดีตามโครงการผามอง  เล่ม 2   เอกสารพิมพ์ดีดเย็บเล่ม  

              กองโบราณคดี  กรมศิลปากร  และสำนักงานพลังงานแห่งชาติ  พ.ศ. 2520 (หัวหน้าโครงการ)..

        (3)  งานวิจัยเรื่อง  การขุดค้นทางโบราณคดีบ้านตาดทอง อำเภอเมือง  จังหวัดยโสธร   เอกสารพิมพ์ดีดเย็บเล่ม  

              กองโบราณคดี  กรมศิลปากร  พ.ศ 2522 (หัวหน้าโครงการ).

        (4)  ‘The Archaeological Reconnaissance  Report ’ ,  Environmental and ecological investigation  of 

               Loei  Multipurpose  Project, (Study  team),  prepared by  Tesco  ltd.  In association with  Mahidol University 

               and  Chulalongkorn University  for  Electricity Generating Authority of Thailand,  1982.

        (5)  ‘The Archaeological Reconnaissance  Report ’ ,  Environmental and ecological investigation  of 

               Upper  Pa Sak  Project, (Study  team),  prepared by  Tesco  ltd.  In association with  Mahidol University 

               and  Chulalongkorn University  for  Electricity Generating Authority of Thailand,  1982.

        (6)  งานวิจัยเรื่อง  รายงานการขุดค้นทางโบราณคดีบริเวณสระปรางค์ – เขาคลังในเมืองศรีเทพ   เอกสารพิมพ์ดีดเย็บเล่ม  

              กองโบราณคดี  กรมศิลปากร   พ.ศ 2526 (หัวหน้าโครงการ).

        (7)  งานวิจัยเรื่อง   วัดร้างในเวียงเชียงใหม่”  (ผู้วิจัยร่วม) โดย  อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว  และสุรพล  ดำริห์กุล   

              สถาบันวิจัยสังคม  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,  2529.

        (8)  งานวิจัยเรื่อง  เจดีย์ช้างล้อมในดินแดนล้านนา    เอกสารเย็บเล่ม  ทุนอุดหนุนการวิจัยของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 

              พ.ศ 2538 (วิจัยเดี่ยว).

        (9)  งานวิจัยเรื่อง  งานศิลปกรรมลายคำประดับอาคารทางศาสนาล้านนา ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 20 - 24   เอกสารเย็บเล่ม  

              ทุนอุดหนุนการวิจัย ประเภททั่วไป  จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2539 (วิจัยเดี่ยว).

        (10)  งานวิจัยเรื่อง   การศึกษาสิ่งแวดล้อมและการปรับปรุงโบราณสถานร้างเมืองเชียงใหม่  เพื่อร่วมเฉลิมฉลอง 700 ปี

                เมืองเชียงใหม่  (ผู้วิจัยร่วม)  เอกสารเย็บเล่ม  โดย สุรพล  ดำริห์กุล และวรลัญจก์  บุณยสุรัตน์  ได้รับทุนสนับสนุนจาก

                LIFE – Thailand และ องค์กรส่งเสริมทางวิชาการของประเทศเยอรมนี (GTZ)  , พ.ศ 2539.

        (11)  งานวิจัยเรื่อง   การศึกษาและจัดทำเครื่องมือชี้วัดมาตรฐานแหล่งท่องเที่ยวในประเทศไทย  (ผู้วิจัยร่วม) 

                เอกสารเย็บเล่ม   สนับสนุนโดย การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย  สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย  และมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 

                พ.ศ 2543 - 2544.

        (12)  งานวิจัยเรื่อง   เจดีย์ช้างล้อมกับพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ในประเทศไทย    เอกสารเย็บเล่ม   ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย

                จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ  สาขาปรัชญา  ปีงบประมาณ 2544 (วิจัยเดี่ยว).

        (13)  งานวิจัยเรื่อง   ข่วงเมืองและวัดหัวข่วงกับแบบแผนของเมืองในดินแดนล้านนา,  งบประมาณแผ่นดิน 

                หมวดเงินอุดหนุนการวิจัยของ  คณะวิจิตรศิลป์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  ปีงบประมาณ 2545 (วิจัยเดี่ยว).

        (14)  งานวิจัยเรื่อง   พัฒนาการของลวดลายประดับศาสนสถานล้านนา   เอกสารเย็บเล่ม  งบประมาณแผ่นดิน 

                หมวดเงินอุดหนุนการวิจัยของ  คณะวิจิตรศิลป์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  ปีงบประมาณ 2547 (วิจัยเดี่ยว)..

        (15)  งานวิจัยเรื่อง  การศึกษาและขุดค้นทางโบราณคดีแหล่งกลางเวียงเชียงใหม่ (บริเวณก่อสร้างหอประวัติศาสตร์เมืองเชียงใหม่) 

                เอกสารเย็บเล่ม  สนับสนุนงบประมาณโดยเทศบาลนครเชียงใหม่  พ.ศ 2548 (วิจัยเดี่ยว).

        (16)  งานวิจัยเรื่อง  การศึกษาผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อม (EIA and SIA) ตามโครงการพัฒนาเหมืองเวียงแหง 

                อำเภอเวียงแหง  จังหวัดเชียงใหม่  โดยสำนักบริการวิศวกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิต

                แห่งประเทศไทย, พ.ศ. 2546 - 2549 (วิจัยร่วม).

        (17)  งานวิจัยเรื่อง  คุณค่าเอกลักษณ์ศิลปกรรมล้านนากับแนวทางการส่งเสริมการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ

                และการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม   ดำเนินการวิจัยนำเสนอ  สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย  กระทรวงวัฒนธรรม 

                ปีงบประมาณ 2549 (วิจัยเดี่ยว).

        (18)  โครงการวิจัยเรื่อง    ศึกษาความเหมาะสมการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรม  ปรับโครงสร้างการเกษตรกรรม 

                ศึกษาผลกระทบทางสังคมและวัฒนธรรมเขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดตาก    (ผู้วิจัยร่วม)รับผิดชอบในฐานะผู้ศึกษา

                ผลกระทบด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและโบราณคดี  รับผิดชอบดำเนินการวิจัยในนามมหาวิทยาลัยเชียงใหม่

                ปีงบประมาณ 2549 (วิจัยร่วม).

        (19)  โครงการศึกษาและประเมินผลกระทบทางสังคมและสิ่งแวดล้อม (EIA and SIA) จากโครงการก่อสร้างระบบ

                ขนส่งด้วยสายพาน(Rope way) เชียงใหม่ – แม่ฮ่องสอน  โครงการร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเชียงใหม่(สำนักบริการวิชาการ)

                กับมหาวิทยาลัยนเรศวรและจังหวัดแม่ฮ่องสอน,  2550 – 2551 (วิจัยร่วม).

        (20)  การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติราชการของพนักงานเทศบาลในจังหวัดเชียงใหม่,  

                สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และจังหวัดเชียงใหม่,  2551.

        (21)  การประเมินผลโครงการจัดการความรู้และกระบวนการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาพื้นที่สูง,  โครงการร่วมมือระหว่าง

                สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กับสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง(องค์การมหาชน),  2552 (วิจัยร่วม)

        (22)  โครงการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่,  สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 

                และองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่,   พ.ศ. 2552(วิจัยร่วม).

        (23)  โครงการ HIV/AIDS Orphans Support  Project,  สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมูลนิธิหมอเสม  พริ้งพวงแก้ว,  

                พ.ศ. 2552(วิจัยร่วม).

        (24)  โครงการประเมินผลโครงการจัดการความรู้และกระบวนการเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน,   สำนักบริการวิชาการ 

                มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน),  พ.ศ. 2552(วิจัยร่วม).

        (25)  โครงการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการใช้บริการ เพื่อกำหนดประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษ 

                ประจำปี 2552,  สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และเทศบาลนครเชียงใหม่,  พ.ศ. 2552(วิจัยร่วม).

        (26)  โครงการถอดบทเรียนและเยี่ยมพัฒนากองทุนสุขภาพตำบลในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคเหนือ,  สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 

                และสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ,  พ.ศ. 2552(วิจัยร่วม).

        (27)  การประเมินโครงการรักษ์น้ำเพื่อพระแม่ของแผ่นดิน,  สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง 

                (องค์การมหาชน),  พ.ศ. 2552 - 2553(วิจัยร่วม).

        (28)  โครงการผลิตสื่อโครงการถ่ายทอดองค์ความรู้โครงการหลวงและพัฒนาศักยภาพชุมชนบนพื้นที่สูง,   สำนักบริการวิชาการ 

                มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน),  พ.ศ. 2552 - 2553(วิจัยร่วม).

        (29)  โครงการต้นแบบบูรณาการสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน วัดพระบรมธาตุดอยผาส้ม อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่,  สำนักบริการวิชาการ 

                มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และบริษัทโตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด,  พ.ศ. 2553(วิจัยร่วม).

        (30)  โครงการนิเทศติดตามการดำเนินงานโครงการถ่ายทอดองค์ความรู้โครงการหลวงและพัฒนาศักยภาพชุมชนบนพื้นที่สูง,  

                สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน),  พ.ศ. 2553(วิจัยร่วม).

        (31)  โครงการประเมินผลมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์,  สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่และมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์,  

                พ.ศ. 2553(วิจัยร่วม).

 

5.2   ผลงานหนังสือ

        (1)  หนังสือเรื่อง  ประวัติศาสตร์ล้านนา, ประวัติบ้านเมือง, โบราณสถาน, บุคคลสำคัญ  (ผู้เขียนร่วม)  คณะกรรมการส่งเสริม

              หนังสือตามแนวพระราชดำริ จัดพิมพ์,  2528.

        (2)  หนังสือเรื่อง  ทำเนียบโบราณสถานอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย  (ผู้เขียน)  กรมศิลปากรจัดพิมพ์,  2531.

        (3)  หนังสือเรื่อง  9  อุทยานประวัติศาสตร์ (ผู้เขียนเดี่ยว)  กรมศิลปากรจัดพิมพ์  2532.

        (4)  หนังสือเรื่อง  มรดกอีสานที่ภูพระบาท  (ผู้เขียนเดี่ยว) กรมศิลปากรจัดพิมพ์  เนื่องในวโรกาสสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

              สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำเนิน เปิดอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาท จังหวัดอุดรธานี,  2535.

        (5)  หนังสือเรื่อง  วัดร้างในเวียงเชียงใหม่  (ผู้เขียนร่วม)   โดย อรุณรัตน์ วิเชียรเขียว และสุรพล  ดำริห์กุล  

              สุริวงศ์บุ๊คเซนเตอร์เชียงใหม่จัดพิมพ์,  2539.

        (6)  หนังสือเรื่อง  บ้านเชียง : มรดกโลกทางวัฒนธรรม  (ผู้เขียนเดี่ยว)  องค์การค้าของคุรุสภาจัดพิมพ์,  2540.

        (7)  หนังสือเรื่อง  งานศิลปกรรมล้านนากับคุณค่าที่กำลังเปลี่ยนไป  (ผู้เขียนและบรรณาธิการ)   คณะวิจิตรศิลป์ 

              มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดพิมพ์,  2540.

        (8)  หนังสือนำชม    เมืองเชียงแสน   (ผู้เขียนเดี่ยว)  สำนักพิมพ์สีดา,  2542.

        (9)  หนังสือเรื่อง  “แผ่นดินล้านนา”   (ผู้เขียนเดี่ยว) สำนักพิมพ์เมืองโบราณ,  2539.

        (10)  หนังสือเรื่อง  “ล้านนา :  สิ่งแวดล้อม  สังคม  และวัฒนธรรม”  (ผู้เขียนเดี่ยว)   สำนักพิมพ์แสงอรุณ จำกัด,  2542.

        (11)  หนังสือเรื่อง “เครื่องปั้นดินเผาไทย”   (ผู้เขียนเดี่ยว) โครงการสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย

                บริษัทสตาร์ปริ้นจำกัดและองค์การค้าคุรุสภา,  2542.

        (12)  หนังสือเรื่อง “ มรดกช่างศิลป์ไทย”   (ผู้เขียนเดี่ยว) โครงการสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย 

                บริษัทสตาร์ปริ้นจำกัดและองค์การค้าคุรุสภา, 2542.

        (13)  หนังสือเรื่อง “ลายคำล้านนา”  (ผู้เขียนเดี่ยว)  สำนักพิมพ์เมืองโบราณ,  2544.

        (14)  หนังสือเรื่อง “ประวัติศาสตร์และศิลปะหริภุญไชย”,  (ผู้เขียนเดี่ยว) สำนักพิมพ์เมืองโบราณ,   2547.

        (15)  หนังสือเรื่อง “ แผ่นดินอีสาน”   (ผู้เขียนเดี่ยว)  สำนักพิมพ์เมืองโบราณจัดพิมพ์,  2549.

        (16)  หนังสือเรื่อง “ข่วงเมืองและวัดหัวข่วง : องค์ประกอบสำคัญของเมืองในดินแดนล้านนา” (ผู้เขียนเดี่ยว)

                สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2549.

        (17)  หนังสือเรื่อง “เจดีย์ช้างล้อม : ประวัติศาสตร์บ้านเมืองกับพระพุทธศาสนาลังกาวงศ์ในประเทสไทย”, 

                สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,   2554.

        (18)  หนังสือ  “การจัดการศิลปะและวัฒนธรรม”  สหสาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม  บัณฑิตวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  

                จัดพิมพ์เป็นมุทิตาจิตเนิ่องในโอกาสที่ศาสตราจารย์เกียรติคุณสุรพล  ดำริห์กุล  ได้รับพระราชทานปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 

                สาขาวิชาการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในวันที่ 5 มกราคม 2559  โรงพิมพ์มิสเตอร์เจมส์  จังหวัดเชียงใหม่, 2559.

        (19)  หนังสือเรื่อง  “สุโขทัย  มรดกแห่งแผ่นดิน”  กระทรวงวัฒนธรรมจัดพิมพ์  เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 

                ในโอกาสทรงเจริญพระชนมพรรษา 85 พรรษา  12 สิงหาคม  2560 (กรุงเทพฯ : บริษัท สุวรรณภูมิ เฮอริเทจ จำกัด, 2560).

        (20).  หนังสือเรื่อง  “รากเหง้าประวัติศาสตร์ของเมืองเขลางค์นครหรือนครลำปาง”   สมาคมศิษย์เก่าอัสสัมชัญลำปาง  จัดพิมพ์เนื่องในโอกาสครบรอบ 60 ปี 

                โรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง  พ.ศ. 2560.

        (21).  หนังสือเรื่อง  “ประวัติศาสตร์และศิลปะล้านนา”,   กรุงเทพฯ :  สำนักพิมพ์เมืองโบราณ,  2561.

        (22)  หนังสือเรื่อง  “เขลางคนคร และเมืองลำพาง  มรดกประวัติศาสตร์แห่งลุ่มน้ำวัง”   สำนักศิลปะและวัฒนธรรม   มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปางจัดพิมพ์,  2562.

        (23)  หนังสือเรื่อง  “ประวัติศาสตร์และศิลปะสุโขทัย”,   กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เมืองโบราณ,  2562.

        (24).  หนังสือเรื่อง  “ประวัติศาสตร์และศิลปะอยุธยา”   กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เมืองโบราณ,  2566. 

  

6. งานบริการวิชาการ

(1)  อุปนายกสมาคมเพื่อการรักษาสมบัติวัฒนธรรมประจำจังหวัดลำปาง  พ.ศ. 2536  ถึงปัจจุบัน

(2)  ที่ปรึกษากลุ่มช่าง 4 หมู่  เมืองเชียงใหม่

(3)  ประธานโครงการศึกษาและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมโบราณสถานร้างเมืองเชียงใหม่  เพื่อร่วมเฉลิมฉลอง 700 ปี เมืองเชียงใหม่  

      ซึ่งได้รับทุนสนับสนุนจาก LIFE – Thailand และ องค์กรส่งเสริมทางวิชาการของประเทศเยอรมนี (GTZ)  , พ.ศ. 2539.

(4)  ประธานโครงการบูรณะพระเจดีย์วัดหัวข่วงแสนเมืองหลวง  อำเภอเมือง  จังหวัดเชียงใหม่  เพื่อร่วมเฉลิมฉลอง 700 ปี 

      เมืองเชียงใหม่  พ.ศ. 2538 -2539.

(5)  กรรมการในคณะกรรมการวิชาการเฉลิมฉลอง 700 ปี เมืองเชียงใหม่  ของจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2539.

(6)  กรรมการในคณะกรรมการทดลองนำร่องการบริหารจัดการทรัพย์สินทางศิลปวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่  

      ตามคำสั่งกรมศิลปากรที่ 470/2544  ลงวันที่ 8  สิงหาคม 2544.

(7)   กรรมการในคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนาเขตเมืองเก่าเชียงใหม่  ตามคำสั่งจังหวัดเชียงใหม่ที่ 2736/2544  ลงวันที่ 9 ตุลาคม 2544.

(8)   ผู้ทรงคุณวุฒิ ในการพิจารณาโครงการเรียบเรียงตำราของทบวงมหาวิทยาลัย  ตามหนังสือที่ ทม. 0207/5339 ลงวันที่ 10 ตุลาคม 2544.

(9)   กรรมการในคณะกรรมการฝ่ายวิชาการ  และอนุกรรมการดำเนินงานด้านจัดทำหนังสือที่ระลึก  และอนุกรรมการดำเนินการจัดสัมมนาทางวิชาการ

       ระดับภูมิภาคและระดับประเทศ  คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2544.

(10)  กรรมการในคณะกรรมการตัดสินการประกวดออกแบบผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกและบรรจุภัณฑ์  ศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคที่ 1  

       จังหวัดเชียงใหม่  ตามคำสั่งจังหวัดเชียงใหม่ที่ 2329/2545

(11)  กรรมการในคณะกรรมการดำเนินงานจัดสร้างอนุสรณ์สถานพ่อเจ้าทิพย์ช้าง  ตามประกาศจังหวัดลำปาง ลงวันที่ 10 กันยายน 2546.

(12)  ที่ปรึกษาสาขาพื้นฐานการศึกษา  คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์  วิทยาลัยโยนก  ตามประกาศวิทยาลัยโยนก  จังหวัดลำปาง 

       ลงวันที่ 27 มกราคม 2546.

(13)  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ  สภาวัฒนธรรมจังหวัดลำปาง  ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 – 2550.

(14)  กรรมการและผู้ทรงคุณวุฒิโครงการท่องเที่ยว เรียนรู้ศิลปกรรมพื้นบ้านล้านนา ของสมาคมอนุรักษ์ศิลปกรรมและสิ่งแวดล้อม  พ.ศ. 2546.

(15)  ที่ปรึกษาทางวิชาการโครงการจัดแสดงศูนย์บริการข้อมูลเมืองประวัติศาสตร์เวียงกุมกาม จังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2547.

(16)  ประธานคณะทำงานจัดทำแผนงานโครงการอนุรักษ์เมืองประวัติศาสตร์เวียงท่ากาน อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ 

       ของกลุ่มประชาคมเวียงท่ากาน  พ.ศ. 2547.

(17)  ผู้เชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์  โบราณสถาน และโบราณคดี  การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสังคม ตามโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง 

        อำเภอเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่  ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2546-2549.

(18)  ประธานโครงการจัดแสดงพิพิธภัณฑ์วัดพระเจ้าทันใจ  จังหวัดลำปาง  ของวัดพระเจ้าทันใจ ร่วมกับคณะวิจิตรศิลป์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2547.

(19)  ที่ปรึกษาทางวิชาการ  เทศบาลนครลำปาง  พ.ศ. 2548-2552.

(20)  กรรมการในคณะกรรมการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่า จังหวัดลำปาง  ของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  พ.ศ. 2551 ถึงปัจจุบัน

(21)  รองประธานคณะกรรมการโครงการพุทธศิลป์ล้านนา  สำนักบริการวิชาการ  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  พ.ศ. 2548  ถึง ปัจจุบัน

(22)  กรรมการอำนวยการโครงการปรับปรุงและจัดแสดงพิพิธภัณฑ์ วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง  

       ของวัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดารามร่วมกับคณะวิจิตรศิลป์  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  พ.ศ. 2551 ถึง ปัจจุบัน

(23)  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาการ  สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  พ.ศ. 2550 ถึงปัจจุบัน

(24)  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความทางวิชาการ  วารสารศิลปกรรมศาสตร์  คณะศิลปกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น  

       พ.ศ. 2549  ถึงปัจจุบัน

(25)  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติราชการของพนักงานเทศบาลในจังหวัดเชียงใหม่,  

       ของจังหวัดเชียงใหม่  พ.ศ. 2551 และ พ.ศ.2552.

(26)  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความทางวิชาการ  วารสารดำรงวิชาการ  คณะโบราณคดี  มหาวิทยาลัยศิลปากร  พ.ศ. 2552  ถึงปัจจุบัน

(27)  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ  สภาวิชาการ  มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง  พ.ศ. 2551  ถึงปัจจุบัน

(28)  กรรมการอำนวยการยุทธศาสตร์การอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าลำปาง  ของเทศบาลนครลำปาง  พ.ศ. 2552.

(29)  กรรมการพัฒนาหลักสูตรและมาตรฐานการศึกษา  หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชาการจัดการพุทธศิลปกรรมและ

       สภาพแวดล้อมพุทธสถาน  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  พ.ศ. 2554.

(30)  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ  ปรับปรุงหลักสูตบัณฑิตศึกษา  สาขาวิชการการจัดการศิลปะและวัฒนธรรม  บัณฑิตวิทยาลัย 

        มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  พ.ศ. 2554.

(31)  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ  ประจำคณะครุศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง  พ.ศ. 2554.

       (32)  กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ   สภาวิชาการ  มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

       (33) ประธานผู้ตรวจสอบทางวิชาการฯ  แผนงานพัฒนาและประยุกต์ใช้มนุษยศาสตร์  สังคมศาสตร์และ

ศิลปกรรมศาสตร์(กลุ่มมนุษยศาสตร์)  สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ  พ.ศ. 2566. 

7. รางวัลที่ได้รับ

        (1)  รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ :  รางวัลผลงานวิจัย ชมเชย  สาขาปรัชญา จากผลงานการวิจัยเรื่อง  งานศิลปกรรมลายคำประดับ

              อาคารทางศาสนาล้านนา ในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 20 – 24  จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ  พ.ศ. 2543.

        (2)  รางวัลผู้ประพันธ์หนังสือ ประเภทสารคดีดีเด่น  เรื่อง  ล้านนา : สิ่งแวดล้อม  สังคม  และวัฒนธรรม  ของคณะกรรมการ

              พัฒนาหนังสือแห่งชาติ  พ.ศ. 2543.

        (3)  รางวัลผู้ประพันธ์หนังสือ ประเภทสารคดี ชมเชย เรื่อง ลายคำล้านนา ของคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่งชาติ พ.ศ. 2544.

        (4)  ศิษย์เก่าดีเด่นโรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง  พ.ศ 2544.

        (5)  นักศึกษาเก่าดีเด่นมหาวิทยาลัยศิลปากร  พ.ศ 2550.

        (6)  รางวัลผู้ประพันธ์หนังสือ ประเภทสารคดี ชมเชย  เรื่อง “ประวัติศาสตร์และศิลปะล้านนา” ของคณะกรรมการพิจารณาตัดสินประกวดหนังสือดีเด่น  

              กระทรวงศึกษาธิการ  ประจำปี 2562.

        (7)   รางวัลผู้ประพันธ์หนังสือ ประเภทสารคดี ชมเชย  เรื่อง “ประวัติศาสตร์และศิลปะสุโขทัย” ของคณะกรรมการพิจารณาตัดสินประกวดหนังสือดีเด่น  

           กระทรวงศึกษาธิการ  ประจำปี 2563. 

        (8).   รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ :  นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ  สาขาปรัชญา  ของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ  ประจำปี 2562.

      (9).  รางวัลปฐกถาศิลป์ พีระศรี  มหาวิทยาลัยศิลปากร  ประจำปี พ.ศ. 2566.