ชื่อ-นามสกุล:              

พิชญา สุ่มจินดา     

( Pitchaya Soomjinda)

ตำแหน่งวิชาการ:       

รองศาสตราจารย์

สังกัด:                          

สาขาวิชาศิลปะไทย ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่                    

ตำแหน่งบริหาร:         

ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา (2555 - 2557)

บรรณาธิการวารสารวิจิตรศิลป์ (2561 - 2562)

กรรมการมูลนิธิพิริยะ ไกรฤกษ์ (2564- )

ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อปฏิบัติหน้าที่เป็นประธานหรือกรรมการสอบวิทยานิพนธ์  ในหลักสูตรมหาบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2564-2569)

กรรมการในคณะกรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการด้านศาสนา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (2565- )

ประธานหลักสูตรสาขาวิชาศิลปะและวัฒนธรรมไทยสร้างสรรค์ (2566- )



การศึกษา:                 

สวนกุหลาบวิทยาลัย (รุ่น 115)

นิติศาสตรบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ( 2539 - 2542 )

ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2544 - 2547)


สาขาที่เชี่ยวชาญ:  

ประวัติศาสตร์ศิลป์


ความสนใจ  

ศิลปะเขมร, ศิลปะในประเทศไทยสมัยโบราณ, ศาสนศิลป์


วิทยานิพนธ์ :

พิชญา สุ่มจินดา. 2548. การกำหนดอายุเวลาและการจำลองพระพุทธชินราช วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จังหวัดพิษณุโลก. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.


งานวิจัย:

พิริยะ ไกรฤกษ์ และพิชญา สุ่มจินดา. 2549. พระพุทธชินราช: การวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์ศิลปะและการศึกษาภาพลักษณ์ที่สร้างขึ้นโดยชนชั้นนำสยามสู่สามัญชน . กรุงเทพมหานคร : สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

การศึกษาการสร้างพระพุทธสิหิงค์จำลองของอยุธยา (พระขนมต้ม) และความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยากับล้านนาในช่วงระยะเวลาที่มีการจำลองพระพุทธสิหิงค์ . (โดยได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2551).

พุทธศิลป์ของนิกายเถรวาทในประเทศไทย หลังการล่มสลายของลัทธิตันตรยานในกัมพูชาถึงก่อนกาลของคณะสงฆ์มหาวิหารวาสิน . (อนุโครงการในโครงการวิจัยเมธีวิจัยอาวุโส ในหัวข้อ “พุทธศาสนากับศิลปะไทย ระหว่าง พ.ศ. 2000 - 2400” มี รศ. ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์ เป็นหัวหน้าโครงการ พ.ศ. 2553).


จิตรกรรมฝาผนังวัดเกาะ   จังหวัดเพชรบุรี   ภาพสะท้อนการเปลี่ยนแปลงคติจักรวาฬสมัยอยุธยาตอนปลาย  ( โดยได้รับทุนสนับสนุนจากคณะวิจิตรศิลป์   มหาวิทยาลัยเชียงใหม่   พ . ศ . 2555). 

การศึกษาเชิงประวัติศาสตร์ศิลปะและแนวคิดเชิงสังคมและวัฒนธรรมของจิตรกรรมฝาผนังในพระวิหารหลวงวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม . (โดยได้รับทุนสนับสนุนจากคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2558).

พิชญา   สุ่มจินดา . 2565.  อิทธิพลของอภัยคีรีวิหารต่อพุทธศิลป์ลัทธิมหายาน - ตันตรยาน   ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กรุงเทพฯอี . ที . พับลิชชิ่ง . ( งานวิจัยภายใต้โครงการเมธีวิจัยอาวุโส   สกวศาสตราจารย์   ดร . เสมอชัย   พูลสุวรรณพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในบริบทวัฒนธรรมเอเชียอาคเนย  ( คริสต์ศตวรรษที่  11 -  ปัจจุบัน )”  โดยได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวจัย  ( สกว .)


กระบวนวิชาสอน :

101205 ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันออก

104302 จิตรกรรมและประติมากรรมไทย (เฉพาะประติมากรรมไทย)

116200 แนวคิดและทฤษฎีทางประวัติศาสตร์ศิลปะ

116302 ศิลปะและสถาปัตยกรรมเขมร

116400 ศิลปะในประเทศไทยสมัยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19      

116401 ศิลปะในประเทศไทยสมัยพุทธศตวรรษที่ 19 - 23                            


สมุดจดคำบรรยาย :

พิชญา สุ่มจินดา. 2557. สมุดจดคำบรรยาย กระบวนวิชา 116400 ศิลปะในประเทศไทยสมัยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19. เชียงใหม่: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พิชญา สุ่มจินดา. 2563.  สมุดจดคำบรรยาย กระบวนวิชา 116400 ศิลปะในประเทศไทยสมัยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19. เชียงใหม่: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พิชญา สุ่มจินดา. 2559. สมุดจดคำบรรยาย กระบวนวิชา 101205 ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันออก . เชียงใหม่: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พิชญา สุ่มจินดา. 2559. สมุดจดคำบรรยาย กระบวนวิชา 104302 จิตรกรรมและประติมากรรมไทย . เชียงใหม่: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พิชญา สุ่มจินดา. 2559. สมุดจดคำบรรยาย กระบวนวิชา 116401 ศิลปะในประเทศไทยสมัยพุทธศตวรรษที่ 19 - 23 . เชียงใหม่: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

พิชญา สุ่มจินดา. 2559. สมุดจดคำบรรยาย กระบวนวิชา 116302 ศิลปะและสถาปัตยกรรมเขมร. เชียงใหม่: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.


หนังสือ:  

พิชญา สุ่มจินดา.(บรรณาธิการ) 2553. ราชประดิษฐพิพิธบรรณ . กรุงเทพมหานคร: วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม.

พิชญา สุ่มจินดา. 2555. ราชประดิษฐพิพิธทรรศนา . กรุงเทพมหานคร: วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม. (บทวิจารณ์)

พิชญา สุ่มจินดา. 2557. ถอดรหัสพระจอมเกล้า .  พิมพ์ครั้งที่ 1.  กรุงเทพมหานคร: ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ. (บทวิจารณ์1)   (บทวิจารณ์2)

พิชญา สุ่มจินดา และยุทธนาวรากร แสงอร่าม. 2565.  ถอดรหัสพระจอมเกล้าพิมพ์ครั้งที่ 2 (แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มติชน. (พิมพ์เป็นบรรณานุสรณ์เนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดพระราชทานสัญญาบัตรตั้งสมณศักดิ์พระราชวชิราภินันท์ (ม.ร.ว. นันทวัฒน์ ชยวฑฺโน) 29 กันยายน 2565). 

พิชญา สุ่มจินดา. 2563.  สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง • รัฐประหาร • ความชอบธรรม • พิธีกรรม • ศิลปะ . กรุงเทพฯ: มูลนิธิพิริยะ ไกรฤกษ์.  

Decoding Southeast Asian Art: Studies in Honor of Piriya Krairiksh. Edited by Nicolas Revire and Pitchaya Soomjinda. Technical Editing by Kim W. Atkinson. Bangkok: River Books and The Piriya Krairiksh Foundation.



บทความ:  

พิชญา สุ่มจินดา. 2547. “พระพุทธรูปแบบธรรมยุติกนิกายของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว.”  ความรู้คือประทีป. 3(กรกฎาคม - กันยายน): 20 - 25.

พิชญา สุ่มจินดา. 2549. “ธรรมยุติกนิกาย: การศึกษาความสัมพันธ์กับสมณวงศ์ของลังกาผ่านพุทธศิลป์.”   ไทยคดีศึกษา. 3(1 ตุลาคม - มีนาคม) : 161 - 232.

พิชญา สุ่มจินดา. 2550.  “พระพุทธรูปทรงเครื่องฉลองพระองค์ในพระบรมมหาราชวัง: ความรู้ที่ต้องเปลี่ยนแปลง ความขัดแย้งที่ต้อง วิเคราะห์.” ใน ประวัติศาสตร์ศิลปะที่ต้องจารึก. รวบรวมโดย วารุณี โอสถารมย์. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์  (รวมบทความทางวิชาการเนื่องในโอกาสเกษียณอายุราชการ รองศาสตราจารย์ ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์)

พิชญา สุ่มจินดา. 2552.  “พระโกศทองใหญ่รัชกาลที่ 1 ในการออกพระเมรุสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์.” ศิลปวัฒนธรรม . 4(กุมภาพันธ์): 78 - 90.

พิชญา สุ่มจินดา. 2552.  “พระพุทธชินราช พระพุทธชินศรี และพระศรีศาสดา ‘จำลอง’ ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม” ศิลปวัฒนธรรม . 12(ตุลาคม): 110 - 123.

พิชญา สุ่มจินดา. 2553.  “พลิกความรู้เรื่องแผ่นไม้จำหลักเครื่องราชกกุธภัณฑ์ในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง จังหวัดสุโขทัย.” ศิลปวัฒนธรรม 10(สิงหาคม): 122 - 135.

พิชญา สุ่มจินดา. 2553.  “บุษบกธรรมาสน์ ‘ยอดมงกุฎ’ ในการเปรียญวัดราชประดิษฐ: จาก ‘อินทรคติ’ ในรัชกาลที่ 3 สู่  “พระบรมราชสัญลักษณ์’ ประจำรัชกาลที่ 4.”   ศิลปวัฒนธรรม 12(ตุลาคม): 126 - 145.

พิชญา สุ่มจินดา. 2554. “ แกะรอยสัญลักษณ์บนหน้าบันพระวิหารหลวงวัดราชประดิษฐฯ.ศิลปวัฒนธรรม 1(พฤศจิกายน): 126 - 145.

พิชญา สุ่มจินดา. 2555. " ราวณะบุกยมโลกที่ปราสาทพิมาย "   วิจิตรศิลป์   3(มกราคม - มิถุนายน): 59 - 90.

พิชญา สุ่มจินดา. 2556.  "มหาโพธิบัลลังก์กับคติจักรวาลที่เปลี่ยนไปในอุโบสถวัดเกาะแก้วสุทธาราม จังหวัดเพชรบุรี (The Throne of Enlightenment: the Changing Concept of Buddhist Cosmology as Represented  in the uposothagara of the Wat Ko Kaeo Suttharam, Phetchburi)" เอกสารประกอบสัมมนาวิชาการประจำปี 2555/2556 อาเซียนศึกษา (ASEAN Studies) จัดโดย มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ร่วมกับมูลนิธิโตโยต้าแห่งประเทศไทย ระหว่างวันที่ 24-25 มกราคม 2556 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน) กรุงเทพมหานคร.

พิชญา สุ่มจินดา. 2556.    "พระมหาศิรจุมภฏปฏิมากร: พระพุทธรูปทรงเครื่องฉลองพระองค์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่รอวันค้นพบ." ศิลปวัฒนธรรม  6(เมษายน): 134 - 153.

 พิชญา สุ่มจินดา. 2556. " ถอดรหัสภาพสลักบุรุษปริศนาถูกเลื่อย ผ่าศีรษะในศิลปะบายนและหลังบายน: ภาพเล่าเรื่องศรีเสนาวทานจาก อวทาน-กัลปลตา ของเกษเมนทระ.   วิจิตรศิลป์ 4(กรกฎาคม - ธันวาคม): 177-234.

พิชญา สุ่มจินดา. 2557.  "การตีความใหม่ของภาพสลักเล่าเรื่องพระลักษมณ์รบอินทรชิตที่ปราสาทพิมาย."  ใน สิ่งละอัน พันละน้อย 60 ปี วารุณี โอสถารมย์ . หน้า 283-323. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพิริยะ ไกรฤกษ์. (รวมบทความวิชาการเพื่อแสดงมุทิตาจิตแด่คุณวารุณี โอสถารมย์).

พิชญา สุ่มจินดา. 2557.   “สถูปจำลองบรรจุพระบรมสารีริกธาตุจากกรุปรางค์ประธานวัดมหาธาตุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา: ภาพสะท้อนพุทธศาสนาลังกาวงศ์สมัยต้นอยุธยา.” ใน ประวัติศาสตร์ศิลปะบันดาลใจ . บรรณาธิการโดยกาญจนี ละอองศรี และม.ร.ว.นริศรา จักรพงษ์. หน้า 191 - 252. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์. (รวมบทความวิชาการในวาระเจริญอายุครบ 6 รอบ ของรองศาสตราจารย์ ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์).

พิชญา สุ่มจินดา. 2557.   “คำว่า ‘ศรีฆนะ’ ในจารึกกัมพูชา: ‘นิกาย’ หรือ ‘นิรมาณกาย’.”   ไทยคดีศึกษา 11(เมษายน-กันยายน): 175-217.

พิชญา สุ่มจินดา. 2559.   “‘พระจอมเกล้า’ กับ ‘พระธรรมกาย’ ในจิตรกรรมวัดปทุมวนาราม.”   ศิลปวัฒนธรรม 37 (กรกฎาคม): 66 - 85.

พิชญา สุ่มจินดา. 2559.   “พระนารายณ์ทรงครุฑยุดนาคเหนือเกียรติมุขที่ปรางค์ประธานวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ลพบุรี.”   ใน สรรพศาสตร์ สรรพศิลป์ ถิ่นลพบุรี . น. 216 - 235. ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

พิชญา สุ่มจินดา. 2559. “ตำนานพระโกศทองใหญ่ 3 รัชกาล.” ศิลปวัฒนธรรม 38 (พฤศจิกายน): 112 - 129.

พิชญา สุ่มจินดา. 2559. “พระชฎาห้ายอดในพระบรมโกศ.” ศิลปวัฒนธรรม 38 (พฤศจิกายน): 130 - 139.

พิชญา สุ่มจินดา. 2559. “ธงสำหรับพระเกียรติยศพระมหากษัตริย์.” ศิลปวัฒนธรรม 38 (ธันวาคม): 104 - 121.

พิชญา สุ่มจินดา. 2559. “พระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์ในพระบรมราชจักรีวงศ์.” ศิลปวัฒนธรรม 38 (มกราคม): 66 - 90.

พิชญา สุ่มจินดา. 2560. "ข้อวินิจฉัยเบื้องต้นเกี่ยวกับภาพงานพระเมรุสมเด็จพระเพทราชาที่ค้นพบใหม่." ใน เสด็จสู่แดนสรวงว่าด้วยคติความเชื่อในงานพระบรมศพและ พระเมรุมาศ. บรรณาธิการโดย พิพิฒน์ กระแจะจันทร์, น. 251-282. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

พิชญา สุ่มจินดา. 2560. “ภาพงานพระเมรุสมเด็จพระเพทราชาที่ค้นพบใหม่กับข้อวินิจฉัยเบื้องต้น,” ศิลปวัฒนธรรม 38 (ตุลาคม): 148 - 176.

พิชญา สุ่มจินดา. 2563.  “เศียรใหญ่ไม่ใช่พระศรีสรรเพชญ.   ศิลปวัฒนธรรม  41 (กันยายน): 75-100.

พิชญา สุ่มจินดา. 2564. “จาก ‘สะดือแผ่นดิน‘ สู่ ‘ศีรษะแผ่นดิน‘ การต่อยอดคติโพธิบัลลังก์จากสมัยอยุธยาตอนปลายสู่ต้นรัตนโกสินทร์” ศิลปวัฒนธรรม 43 (พฤศจิกายน): 80-109.

พิชญา สุ่มจินดา. 2566. “สภาวะเหลียวหลังแลหน้าในจิตรกรรมพระราชพิธีสิบสองเดือน.“ ใน ยุคสมัยและกษัตริย์อย่างใหม่ในพระราชพิธีสิบสองเดือน. บรรณาธิการโดย คงสัจจา สุวรรณเพ็ชร. หน้า 183-282. กรุงเทพฯ: อิลลูมิเนชั่นส์ เอดิชันส์. (บทวิจารณ์)

Pitchaya Soomjinda.  ‘The Replication Theory: a New Approach to Buddha Image Iconography.’  paper presented  at the 10th International Thai Conference in Thai Study, Thammasat University, 9 - 10 January 2008.

Akkharawoot Takhom, Tharathon Utasri,  Dhanon Leenoi, Pitchaya Soomjinda, Prachya Boonkwan, Thepchai Supnithi. “Knowledge Graph Enhanced Community Consensus: a Scenario-based Knowledge Construction on Buddha Images.”

IJCKG'21: The 10th International Joint Conference on Knowledge GraphsDecember 2021, p. 191-194. ( https://doi.org/10.1145/3502223.3502744 )


Pitchaya Soomjinda. 2022. “The Enlightenment Throne and Temple Architecture in Late Ayutthaya.” In Decoding Southeast Asian Art: Studies in Honor of Piriya Krairiksh. Edited by Nicolas Revire and Pitchaya Soomjinda. Technical Editing by Kim W. Atkinson. Bangkok: River Books and The Piriya Krairiksh Foundation.

คลิปการบรรยาย:

ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันออก

https://youtube.com/playlist?list=PLWSaCfwoDVaFUiGDd_ZSoueMD28HA1eRX&si=GpnMcrun1Hdk-7bE


ประติมากรรมในประเทศไทย

https://www.youtube.com/watch?v=e-F_qV1Vj0k&list=PLWSaCfwoDVaFZG-7aonaNAqz1IF7GySrJ


ศิลปะในประเทศไทยสมัยก่อนพุทธศตวรรษที่ 19

https://youtube.com/playlist?list=PLWSaCfwoDVaFv0TQwEc3VFlt9ahKtF4F2


ศิลปะในประเทศไทยสมัยพุทธศตวรรษที่ 19-23

https://www.youtube.com/watch?v=P03BvZ44_OY&list=PLWSaCfwoDVaHxgOlgYiEmt87pR81xbx9a


ศิลปะและสถาปัตยกรรมเขมร

https://www.youtube.com/watch?v=YA2J-m3UTms&list=PLWSaCfwoDVaF3rRYANuDKQqchjAVxMp0w


ระเบียบวิธีวิจัยประวัติศาสตร์ศิลปะ

https://www.youtube.com/watch?v=nZKm32Y60CU&list=PLWSaCfwoDVaEBDPMGUwaY_ASMZ9eEspvi


มหาโพธิบัลลังก์กับคติจักรวาลที่เปลี่ยนไปในอุโบสถวัดเกาะ จังหวัดเพชรบุรี

https://youtu.be/tT07GpFF4mA 


“พุทธประติมากรรมแบบประโคนชัยกับการวางรากฐานพุทธศาสนาลัทธิตันตรยานในดินแดนที่ราบสูงโคราช”

https://youtu.be/l0MranIbe5A

https://youtu.be/qDopWf6NSwE


“สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง รัฐประหาร ความชอบธรรม พิธีกรรม ศิลปะ” 

https://youtu.be/Q0ACxI5NN9U


“ภาพงานพระเมรุสมเด็จพระเพทราชาที่ค้นพบใหม่กับข้อวินิจฉัยเบื้องต้น”

https://youtu.be/zZBFlqdnvaY


“สถาปัตยกรรมที่หายไป...บันทึกไว้ในจิตรกรรมวัดราชประดิษฐ” (จิตรกรรมภาพพระราชพิธีสิบสองเดือน

https://youtu.be/xeQnavLDKXk


ศิลปะหลังรัฐประหาร สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง

https://youtu.be/e_anNUgF2ow


รายการประวัติศาสตร์นอกตำรา “เศียรใหญ่ คือ พระศรีสรรเพชญ ? ปลุกวงการประวัติศาสตร์ให้ตื่นอีกครั้ง”

https://youtu.be/2XnjZIK2Fok


รัฐประหาร ความชอบธรรม ท่ามกลางอาเพศ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง 

https://youtu.be/iWWck9o5smA


ข้อคิดเห็นใหม่เกี่ยวกับศิลปะสุพรรณภูมิแห่งสุพรรณบุรี 

https://youtu.be/T1YSn4IoOXw


จาก “สะดือแผ่นดิน” สู่ “ศีรษะแผ่นดิน” การต่อยอดคติโพธิบัลลังก์จากสมัยอยุธยาตอนปลายสู่ต้นรัตนโกสินทร์

https://youtu.be/ZKuNTfJaD6I


ยุคสมัยอย่างใหม่ในพระราชพิธีสิบสองเดือน 

https://fb.watch/kqNNnUm1ge/?mibextid=cr9u03


อิทธิพลของอภัยคีรีวิหารต่อพุทธศิลป์ลัทธิมหายาน-ตันตรยานในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (จัดโดย มูลนิธิพิริยะ ไกรฤกษ์) 

https://youtu.be/PVBrbS9_XRo?si=x7-wGdlRhfvLkbGP


สืบสาแหรกปรางค์ก่อนและหลังสถาปนากรุงศรีอยุธยา (ห้องเรียนประวัติศาสตร์ศิลป์)

https://youtu.be/6PZBRL_vzIk?si=H3WH-qhFa7uqHT_l


ยุคสมัยและกษัตริย์อย่างใหม่ในพระราชพิธีสิบสองเดือน (จัดโดย มูลนิธิพิริยะ ไกรฤกษ์) 

https://youtu.be/bccXavtBUSE?si=EKh9lZ0n3UM9uX0j


ศิลปะหลังรัฐประหาร สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง 

https://youtu.be/e_anNUgF2ow?si=9qbkfGtj0O-HWvap